1 / 15

กลุ่มที่ 4

กลุ่มที่ 4. กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง กลุ่มจังหวัดที่ 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง กลุ่มจังหวัดที่ 8.3 กระบี่ พังงา ภูเก็ต กลุ่มจังหวัดที่ 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส กลุ่มจังหวัดที่ 9.2 สงขลา สตูล. การบริหารงานแบบกลุ่มจังหวัด.

tevy
Download Presentation

กลุ่มที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง กลุ่มจังหวัดที่ 8.2 นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง กลุ่มจังหวัดที่ 8.3 กระบี่ พังงา ภูเก็ต กลุ่มจังหวัดที่ 9.1 ปัตตานี ยะลา นราธิวาส กลุ่มจังหวัดที่ 9.2 สงขลา สตูล

  2. การบริหารงานแบบกลุ่มจังหวัดการบริหารงานแบบกลุ่มจังหวัด เห็นด้วยกับการบริหารงานแบบกลุ่มจังหวัด • เป็นการเอื้อประโยชน์ในการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ร่วมกัน แต่จากการทำงานที่ผ่านมามีการแข่งขันกันเองภายในกลุ่ม และการบริหารจัดการภายในกลุ่มจังหวัด • การจัดกลุ่มจังหวัดทำให้เกิดการประสานการทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี • มีข้อสังเกตว่าควรจัดกลุ่มจังหวัดให้เหมาะสมและทำอย่างไรให้กลุ่มจังหวัดมีความยั่งยืนและเข้มแข็ง

  3. แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัดแนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น • ในการพิจารณาการจัดกลุ่มจังหวัดนั้น ควรพิจารณาใน 3 ประเด็นหลักควบคู่กันไป ทั้งในมิติพื้นที่ มิติความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และมิติในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน • ควรเพิ่มแนวทางการจัดกลุ่มจังหวัดเป็นประเด็นที่ 4 โดยคำนึงถึงความเชื่อมโยงในประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ( เช่น ยุทธศาสตร์ข้าวและผลไม้) โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับการวางแผนระยะสั้น ระยะยาวของประเด็นยุทธศาสตร์ • ข้อสังเกต • ควรมองยุทธศาสตร์และอนาคตในการพัฒนาพื้นที่ • ควรพิจารณาเรื่องขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ • ควรมีการสร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มจังหวัด • ควรให้สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดทำหน้าที่ในการเชื่อมโยงการทำงานระหว่างกลุ่มจังหวัดที่มียุทธศาสตร์เดียวกันหรือเกื้อหนุนกันเพื่อร่วมมือกันในการทำงาน • ให้ความสำคัญกับแนวความคิดในการจัดกลุ่มจังหวัดทั้ง 4 ประการ ทั้งนี้ควรนำแนวความคิดดังกล่าวไปจัดโครงสร้าง บทบาทภารกิจของสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด

  4. แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด (ต่อ) ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น Model ที่ 1 การจัดกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ควรแบ่งเป็น 3 กลุ่มจังหวัด ดังนี้ 1. กลุ่มอ่าวไทยตอนบน : ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง (ข้อสังเกต มีขนาดพื้นที่ใหญ่) 2. กลุ่มอ่าวไทยตอนล่าง : สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส 3. กลุ่มอันดามัน : ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล (ข้อสังเกต - จากระนองไปสตูลมีระยะทางที่ห่างกันมาก - อาศัยความเข้มแข็งของจังหวัดภูเก็ตและกระบี่ ) ข้อสังเกตในภาพรวม model ที่ 1 ขนาดกลุ่มจังหวัดจะมีขนาดใหญ่ การบริหารจัดการค่อนข้างยาก

  5. แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด (ต่อ) ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น • Model ที่ 2 • การจัดกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ควรแบ่งเป็น 4 กลุ่มจังหวัด ดังนี้ • กลุ่มอ่าวไทยตอนบน : ชุมพร(10 อำเภอ) สุราษฎร์ธานี (19 อำเภอ) • กลุ่มอ่าวไทยตอนกลาง :นครศรีธรรมราช (23 อำเภอ) พัทลุง (11 อำเภอ) • กลุ่มชายแดน (เน้นความมั่นคงเป็นหลัก) : สงขลา (16 อำเภอ) ปัตตานี (12 อำเภอ) ยะลา (8 อำเภอ) นราธิวาส (13 อำเภอ) สตูล (7 อำเภอ) • กลุ่มอันดามัน : ระนอง 5 พังงา 8 ภูเก็ต 3 กระบี่ 8 ตรัง 10 ข้อสังเกตในภาพรวม Model ที่ 2 กลุ่มอ่าวไทยตอนบนและตอนกลาง จะมีขนาดพื้นที่เล็กทำให้การประสานงานระหว่างจังหวัดคล่องตัวมากขึ้น

  6. แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด (ต่อ) ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น • Model ที่ 3 • การจัดกลุ่มจังหวัดภาคใต้ ควรแบ่งเป็น 4 กลุ่มจังหวัด ดังนี้ • กลุ่มภาคใต้ตอนบน : ชุมพร(10 อำเภอ) สุราษฎร์ธานี (19 อำเภอ) นครศรีธรรมราช (23 อำเภอ) • กลุ่มภาคใต้ตอนกลาง :พัทลุง (11 อำเภอ) ตรัง (10 อำเภอ) สตูล (7 อำเภอ) • กลุ่มชายแดน (เน้นความมั่นคงเป็นหลัก) : สงขลา (16 อำเภอ) ปัตตานี (12 อำเภอ) ยะลา (8 อำเภอ) นราธิวาส (13 อำเภอ) • กลุ่มอันดามัน : ระนอง (5 อำเภอ) พังงา (8 อำเภอ) ภูเก็ต (3 อำเภอ)กระบี่ (8 อำเภอ) ข้อสังเกตในภาพรวม Model ที่ 3 พิจารณาภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ร่วมกันแต่ละกลุ่มโดยพิจารณาจากผลิตผล ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจเป็นหลัก รวมทั้งการทำงานเชื่อมโยงของภาคเอกชนร่วมกันแต่ละกลุ่มจังหวัด

  7. การจัดระบบหรือกลไกการบริหารราชการ แบบกลุ่มจังหวัด

  8. การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ปัญหา • จังหวัดเจ้าภาพต้องใช้ศักยภาพของตนเองในการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ ทั้งการประมวล การดำเนินงานตามตัวชี้วัด การประสานจังหวัด • การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดมีปัญหาสืบเนื่องมาจากการขาดแคลนงบประมาณของกลุ่มจังหวัดโดยเฉพาะ • ขาดการมีส่วนร่วมของจังหวัดและทุกภาคส่วนในกลุ่มจังหวัด • ไม่มีการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เป็นของกลุ่มจังหวัดร่วมกัน และมีการแยกกันดำเนินแผนงานโครงการตามงบประมาณที่จังหวัดได้รับการสนับสนุน • ข้อเสนอแนะ • ต้องสร้างระบบและกลไกให้ทุกภาคส่วนและจังหวัดในกลุ่มได้มีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์โดยมีระยะเวลาที่เพียงพอ • ต้องมีการบูรณาการในการจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมกัน • แผนงานโครงการของกลุ่มจังหวัดควรมีลักษณะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดเป็น value chain

  9. การบริหารงบประมาณ ปัญหา • กลุ่มจังหวัดไม่มีงบประมาณเป็นของตนเอง ทำให้การบริหารงานไม่มีความคล่องตัว • การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ของกลุ่มจังหวัดมีปัญหาสืบเนื่องมาจากการขาดแคลนงบประมาณของกลุ่มจังหวัดโดยเฉพาะ • ข้อเสนอแนะ • ควรมีการจัดสรรงบประมาณลงไปยังกลุ่มจังหวัดและจังหวัดอย่างเพียงพอ • ควรจัดกลุ่มแผนงานโครงการที่มีความเร่งด่วนเพื่อเสนอสำนักงบประมาณ

  10. การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันภายใน กลุ่มจังหวัด ปัญหา • ในขณะนี้ยังเป็นการบริหารจัดการของตนเอง • จังหวัดไม่สามารถให้การสนับสนุนเจ้าหน้าที่ไปปฏิบัติงานของกลุ่มจังหวัด • ข้อเสนอแนะ • ผู้ว่าราชการจังหวัดมีบทบาทในการประสานการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรร่วมกันอยู่แล้ว

  11. การประสานความร่วมมือระหว่างจังหวัดการประสานความร่วมมือระหว่างจังหวัด ปัญหา/ข้อเสนอแนะ • ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนยังมีไม่มาก • ข้อเสนอแนะ • ควรมีเวทีและกลไกในการประสานความร่วมมือและเพิ่มระดับความร่วมมือที่ชัดเจน

  12. การจัดหน่วยบริหารเชิงยุทธศาสตร์ (OSM) ในกลุ่มจังหวัด ปัญหา • เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดยังไม่มีความชำนาญ จึงรับผิดชอบงานเฉพาะบางเรื่องโดยรับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเสนอให้ ก.พ.ร. รับทราบ • ขาดแคลนบุคลากรที่จะปฏิบัติงาน • ความชัดเจนของบทบาทภาระหน้าที่ของ OSM • ระบบความเชื่อมโยงของ OSM และจังหวัดในกลุ่มจังหวัดไม่มีความชัดเจน • ข้อเสนอแนะ • ควรมีเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ไปปฏิบัติงานใน OSM • ควรให้มีผู้ตรวจกระทรวงต่างๆ เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการและจัดโครงสร้างให้มีส่วนราชการอื่นๆ เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อให้การสนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ • ต้องกำหนดบทบาทภาระหน้าที่ให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดได้ • ประธานคณะกรรมการบริหาร OSM ต้องให้ความสำคัญในการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด

  13. การบริหารงานบุคคล ปัญหา/ข้อเสนอแนะ • มีการโยกย้ายสับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ในพื้นที่บ่อยครั้งทำให้การทำงานไม่ต่อเนื่อง • ศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ • ข้อเสนอแนะ • ควรกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง • ควรพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  14. ระบบสนับสนุนของหน่วยงานส่วนกลาง ปัญหา/ข้อเสนอแนะ • ขาดการถ่ายทอดความรู้จากส่วนกลางที่ชัดเจน • ข้อเสนอแนะ • ควรมีการดำเนินการถ่ายทอดความรู้เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง

  15. กฎหมายและระเบียบต่างๆกฎหมายและระเบียบต่างๆ ปัญหา • ไม่มีระเบียบรองรับการดำเนินงานของ OSM กลุ่มจังหวัด • ข้อเสนอแนะ • ควรมีระเบียบรองรับการดำเนินงานของ OSM พร้อมทั้งกำหนดอำนาจหน้าที่

More Related