1 / 94

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน. กิตติ จิระรัตนโพธิ์ชัย พ . บ ., ปร . ด ., น . บ . วัตถุประสงค์. รูปแบบงานวิจัย งานวิจัยที่ดี สถิติในงานวิจัย การเขียนโครงร่างวิจัย การนำเสนองานวิจัย การเขียนรายงานวิจัย. งานวิจัยคืออะไร ?. การกระทำ เพื่อให้ได้ข้อมูล อย่างมีระบบและถูกต้อง ใช้อ้างอิงได้.

terra
Download Presentation

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน กิตติ จิระรัตนโพธิ์ชัย พ.บ., ปร.ด., น.บ.

  2. วัตถุประสงค์ รูปแบบงานวิจัย งานวิจัยที่ดี สถิติในงานวิจัย การเขียนโครงร่างวิจัย การนำเสนองานวิจัย การเขียนรายงานวิจัย

  3. งานวิจัยคืออะไร? การกระทำ เพื่อให้ได้ข้อมูล อย่างมีระบบและถูกต้อง ใช้อ้างอิงได้

  4. การกระทำ การค้นคว้าจากแหล่งข้อมูล การสัมภาษณ์ การทดลองในห้องปฏิบัติการ การทดลองทางคลินิก การปฏิบัติการภาคสนาม

  5. ข้อมูล อะไร (สิ่งที่ต้องการทราบ) จากใคร (กลุ่มตัวอย่างเป้าหมาย) ที่ไหน (สถานที่ทำวิจัย) เมื่อไหร่ (ระยะเวลาในการทำวัจัย) อย่างไร (วิธีการ)

  6. อย่างถูกต้อง รูปแบบวิจัยถูกต้อง ระเบียบวิธีวิจัยถูกต้อง สถิติถูกต้อง จริยธรรมถูกต้อง

  7. ใช้อ้างอิงได้ • กลุ่มตัวอย่างวิจัยไม่ใช่ตัวแทนของประชากรทั้งหมด • ข้อมูลที่ได้จากผลวิจัยเกิดจาก • ค่าที่ได้จริง + ความบังเอิญ + อคติ • ผลที่ได้จากงานวิจัยจะนำไปใช้อ้างอิงได้ต่อเมื่อ • กลุ่มตัวอย่างวิจัยต้องเป็นตัวแทนของประชากรได้ • ลดความบังเอิญ • ขจัดอคติ

  8. งานวิจัยที่ควรทำและไม่ควรทำงานวิจัยที่ควรทำและไม่ควรทำ • ควรทำ • ทำแล้วเกิดประโยชน์อะไรบางอย่าง • ประโยชน์นั้นมีผลในปัจจุบันหรืออนาคต • ไม่ควรทำ • เขารู้กันมาตั้งนานแล้วละ • ทำแล้วไม่เกิดประโยชน์อะไร

  9. รูปแบบการวิจัย • คือการวางแผนทำวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการอย่างถูกต้องและประหยัด • ข้อมูล (คำถามงานวิจัย) • ขนาดของปัญหาหรือการดำเนินโรค • สาเหตุของโรค ปัจจัยเสี่ยงหรือพยากรณ์โรค • การวินิจฉัยโรค • การรักษาหรือป้องกันโรค • ความคุ้มค่าในการรักษา • ข้อสรุปเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • แนวคิด ความเชื่อ ทัศนะคติ

  10. งานวิจัยที่ดี รูปแบบวิจัย ต้องเหมาะกับคำถามวิจัย + ต้องถูกต้อง (internal validity) ระเบียบวิธีวิจัย + ต้องถูกต้อง (internal + external validity) สถิติ

  11. คำถามวิจัยกำหนดรูปแบบวิจัยคำถามวิจัยกำหนดรูปแบบวิจัย คำถามวิจัย รูปแบบวิจัย • ขนาดของปัญหา /การดำเนินโรค • สาเหตุของโรค • การวินิจฉัยโรค • ปัจจัยเสี่ยงหรือพยากรณ์โรค • การรักษาหรือป้องกันโรค • ข้อสรุปเรื่องใดเรื่องหนึ่ง • ความคุ้มค่า • แนวคิด ความเชื่อ ทัศนะคติ • การวิจัยเชิงพรรณา & SR • การวิจัยเชิงวิเคราะห์ & SR • การวิจัยเชิงวิเคราะห์ & SR • การวิจัยเชิงวิเคราะห์ & SR • การวิจัยเชิงทดลอง & SR • การทบทวนวรรณกรรมวิจัย (SR) • การวิจัยเศรษฐศาตร์การแพทย์ • การวิจัยเชิงคุณภาพ

  12. การวิจัยเชิงพรรณา • คำถามวิจัย: ขนาดของปัญหา / การดำเนินโรค • ลักษณะ: กลุ่มศึกษากลุ่มเดียว • ชนิด: รายงานผู้ป่วย การวิจัยตัดขวางกลุ่มเดียว • ประโยชน์:เป็นข้อมูลพื้นฐาน บอกแนวโน้ม • ข้อดี:ทำง่าย ค่าใช้จ่ายน้อย • ข้อด้อย: ไม่บอกความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล

  13. การวิจัยสังเกตเชิงวิเคราะห์การวิจัยสังเกตเชิงวิเคราะห์ • คำถามวิจัย: การวินิจฉัย สาเหตุ ปัจจัยเสียง พยากรณ์โรค • ลักษณะ: กลุ่มศึกษา 2 กลุ่มเปรียบเทียบกัน • ชนิด: ตัดขวาง 2 กลุ่ม case-control, cohort • ประโยชน์:บอกความชุก อุบัติการ สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยพยากรณ์โรค ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล • ข้อดี: ความน่าเชื่อถือสูงกว่าการวิจัยเชิงพรรณา • ข้อด้อย: ขึ้นกับชนิดงานวิจัย

  14. Cross-sectional analytical study Sample Population prevalence= a/(a+b) c/(c+d) บอก associationไม่ได้ มี risk, , ไม่มีโรค b มี risk, ,มีโรค a ไม่มี risk มีโรค c ไม่มี risk, ,ไม่มีโรค d

  15. (Retrospective) Case-control study มี risk Case มีโรค ไม่มี risk มี risk Control ไม่มีโรค ไม่มี risk เริ่มจากปัจจุบันหาอดีตและผลไปหาเหตุ

  16. Case-control study • ข้อดี • เหมาะสำหรับโรคที่ พบน้อย • ใช้เวลาศึกษาน้อย • ข้อด้อย • บอก prevalence และ incidence ไม่ได้ • Bias • Confounding • ศึกษาได้ outcome เดียว

  17. (Prospective) Cohort study มีมี risk factors ไม่มี risk factors sample Population เริ่มจากปัจจุบันไปอนาคตและเหตุมาหาผล

  18. Cohort (incidence) study • ข้อดี • บอกอุบัติการ สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยพยากรณ์โรค ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล • ข้อด้อย • ไม่เหมาะสำหรับ Rare disease, FU, confounding • วิธีการ • กำหนดกลุ่ม cohort • กำหนด predictive factors และ confounders • ติดตามผู้ป่วยและวัดผลในอนาคต

  19. การวิจัยเชิงทดลอง คำถามวิจัย: การรักษา วินิจฉัย พยากรณ์โรค ลักษณะ: ผู้ทดลองเป็นผู้กำหนดสิ่งทดลอง ชนิด: การทดลองในสัตว์ ในมนุษย์ clinical trial, RCT ประโยชน์:บอกประสิทธิผลในการรักษา ความแม่นยำในการวินิจฉัย บอกปัจจัยพยากรณ์โรค ข้อดี: มีความน่าเชื่อถือสูงกว่าการวิจัยเชิงวิเคราะห์ ข้อด้อย: ทำยาก ค่าใช้จ่ายสูง จริยธรรม

  20. Randomized controlled trial Treatment A outcome sSample random Treatment B outcome

  21. Randomization • ป้องกัน selection bias • เพื่อ balance known & unknown prognostic factors & confounder • วิธีการ randomization • Simple randomization; หัวก้อย • Block randomization; 4,6,8,16,random block • Stratified randomization; known prognostic factors • Quasi randomization: odd/even, HN, birth date

  22. Blinding • Prevent bias • บางกรณี ทำไม่ได้ • Level • Single blind, double blind (physician, patient, evaluator, analyzer) • วิธีการ • Placebo, sham procedure

  23. Allocation concealment • Prevent selection bias • เพื่อป้องกันไม่ให้รู้ว่าผู้ป่วยจะถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มใด • วิธีการ • Sealed opaque envelop • Central randomization • Allocation ratio; 1:1 for 2groups จะใช้ sample size น้อยกว่า ratio อื่น

  24. การทบทวนวรรณกรรมวิจัย(SR)การทบทวนวรรณกรรมวิจัย(SR) คำถามวิจัย: หาข้อสรุปเรื่องใดเรื่องหนึ่งทั้งการวินิจฉัย สาเหตุ รักษา พยากรณ์โรค ปัจจัยเสี่ยง ลักษณะ: เป็นการรวบรวมงานวิจัยอย่างเป็นระบบ ชนิด: systematic review, meta-analysis ประโยชน์:อาจได้ข้อสรุปบางอย่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ข้อดี: น่าเชื่อถือสูง ค่าใช้จ่ายน้อย ไม่มีปัญหาจริยธรรม ข้อด้อย: สรุปผลไม่ได้ถ้างานวิจัยที่รวบรวมคุณภาพไม่ดี

  25. Systematic review & meta-analysis Systematic review คือการใช้กระบวนการทางวิทยาศาตร์อย่างเป็นระบบเพื่อลดอคติในการคัดเลือก ใช้วิจารณญาณ และสังเคราะห์งานวิจัยทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับหัวเรื่องหรือคำถามทางคลินิกเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ Meta-analysisคือ systematic review ที่ใช้วิธีการทางสถิติในการรวมและสรุปผลของการศึกษาจากงานวิจัยที่คัดเลือกเข้ามาทั้งหมด

  26. Nature of systematic review • Systematic reviews เป็น retrospective research ชนิดหนึ่ง ดังนั้นจึงมีโอกาสที่เกิดอคติต่างๆเช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นกับ retrospective research ชนิดอื่น • ดังนั้น systematic review ที่ดีจะต้องประกอบด้วย • งานวิจัยที่คัดเลือกเข้ามาจะต้องมีกระบวนการวิจัยที่ถูกต้อง • มีวิธีการทบทวนวรรณวิจัยอย่างถูกต้อง

  27. ลำดับชั้นของงานวิจัยเกี่ยวกับการรักษาลำดับชั้นของงานวิจัยเกี่ยวกับการรักษา

  28. การวิจัยเศรษฐศาตร์การแพทย์การวิจัยเศรษฐศาตร์การแพทย์ คำถามวิจัย: วิธีการวินิจฉัย รักษา ป้องกัน คุ้มค่าหรือไม่ ลักษณะ: วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความคุ้มค่าในการวินิจฉัย รักษา ป้องกัน ชนิด: การวิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผล ต้นทุน-อรรถประโยชน์ ประโยชน์:ช่วยในการตัดสินใจลงทุนทางการแพทย์ ข้อดี: บอกความคุ้มค่า ข้อด้อย: วิเคราะห์ต้นทุนยาก

  29. การวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผล (Cost-effectiveness analysis) ประเมินค่าใช้จ่ายในการรักษาที่เพิ่มขึ้น (incremental cost) เปรียบเทียบกับผลของการรักษาที่เพิ่มขึ้นหรือดีขึ้นกว่าเดิม (incremental effect) Incremental cost-effectiveness ratio = (mean cost A – mean cost B) (mean outcome A – mean outcome B)

  30. ประสิทธิผลของการรักษา A เมื่อเปรียบเทียบกับการรักษา B ค่าใช้จ่ายของการรักษา A เมื่เปรียบเทียบกับการรักษา B

  31. การวิจัยเชิงคุณภาพSocial science research คำถามวิจัย: แนวคิด มุมมอง ความเชื่อ ทัศนะคติ ลักษณะ: วิจัยเพื่อทราบแนวคิด มุมมอง ความเชื่อ ทัศนะคติ ชนิด: สังเกตุ สำรวจ (สัมภาษณ์ แบบสอบถาม) action research ประโยชน์:ทราบข้อมูล ข้อดี: ทราบแนวคิด ช่วยปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม ข้อด้อย: เป็นผลเฉพาะกลุ่ม

  32. Qualitative research • Phenomenological study • Subject: key informants • Data collection • Observation • Focus group discussion • In-dept interview • Data analysis • Content analysis, interpretation

  33. Action research การให้กลุ่มเป้าหมายเข้ามาร่วมกระบวนการคิด ตั้งคำถาม วางแผนและทำวิจัยเพื่อหาคำตอบอย่างเป็นระบบ และเรียนรู้จากการทำงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อแก้ปัญหาของตัวเอง ให้คนในชุมชนเข้ามาร่วมกระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน (ชาวบ้านคิดเอง ทำวิจัยเอง เพื่อแก้ปัญหาตัวเอง) ต้องเป็นเรื่องที่ชาวบ้านต้องการ

  34. ค่าที่ได้จากงานวิจัยมีความจริงแค่ไหน?ค่าที่ได้จากงานวิจัยมีความจริงแค่ไหน? ค่าที่ได้จากงานวิจัย Random error (chance) ความบังเอิญ Systematic error (bias) อคติ ค่าจริงที่ถูกต้อง + +

  35. ความบังเอิญ (chance) • ลดความบังเอิญได้โดย • ทดสอบสมมุติฐาน • คำนวณช่วงเชื่อมั่น • ยิ่งลดระดับความผิดพลาดที่ยอมรับได้ โอกาสที่ผลจากงานวิจัยจะเกิดจากความบังเอิญก็ยิ่งลดลง • -error (5%, 1%), -error (20%, 10%) • 95% CI

  36. อคติ (bias) Selection bias Confounding factors Information หรือ observational bias • Recall bias • Measurement bias • Misclassification • Loss FU

  37. Precision & accuracy X X X X X X X X X X X X Poor precision, poor accuracy Poor precision, good accuracy X X X X X X X X X X X X X Good precision, good accuracy Good precision, good accuracy

  38. วิธีเพิ่ม precision & accuracy

  39. Trial 1,3 ไม่ sig. เพราะ sample size ไม่พอ trial 4 sig. แต่ไม่มีความหมาย

  40. งานวิจัยที่ดี รูปแบบวิจัย ต้องเหมาะกับคำถามวิจัย + ต้องถูกต้อง (internal validity) ระเบียบวิธีวิจัย + ต้องถูกต้อง (internal + external validity) สถิติ

  41. การเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุนการเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุน ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ ความเป็นมาและเหตุผลในการทำวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การทบทวนวารวาร คำถามวิจัย วัตถุประสงค์ และสมมุติฐาน คำนิยามเชิงปฏิบัติ กรอบแนวคิด รูปแบบวิจัย (type, reliability, validity)

  42. การเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุนการเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุน • ระเบียบวิธีวิจัย • ตัวอย่างวิจัย (วิธีเลือก จำนวน) • การรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลเชิงปริมาณ; สัมภาษณ์ แบบสอบถาม ข้อมูลเชิงคุณภาพ; สังเกต สัมภาษณ์ focus group discussion, content analysis • ตรวจเช็คความถูกต้องของข้อมูล • ความลับผู้ป่วย

  43. การเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุนการเขียนโครงร่างวิจัยให้ได้ทุน ข้อพิจารณาทางจริยธรรม ความเป็นไปได้ในการทำวิจัย ข้อจำกัดงานวิจัย งบประมาณในการวิจัย เตรียมตารางวิธีวิเคราะห์ทางสถิติ ตารางเวลาการทำวิจัย ภาคผนวก (อธิบายรายละเอียดที่ไม่อยู่ในต้นฉบับ) เอกสารอ้างอิง (แบบเดียวกับที่จะส่งตีพิมพ์)

  44. ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง;สั้น กระชับ บอกสิ่งที่ต้องการนำเสนอ บทคัดย่อ;ความเป็นมา วัตถุประสงค์ วัตถุและวิธีการ ผลการวิจัย สรุป ผู้ร่วมวิจัย สถานที่ทำวิจัย

  45. ความเป็นมาและเหตุผลในการทำวิจัยความเป็นมาและเหตุผลในการทำวิจัย • ความเป็นมา; • ผู้วิจัยต้องค้นคว้าเพื่อให้ทราบถึงองค์ความรู้ล่าสุดในเรื่องที่ต้เองการทำวิจัยว่าตอบคำถามวิจัยได้หรือไม่ มีประเด็นอื่นที่น่ารู้หรือไม่ • เหตุผลในการทำวิจัย; • เพื่อตอบคำถามในสิ่งที่ยังไม่รู้ • รู้แล้วเกิดประโยชน์อะไร

  46. คำถามและวัตถุประสงค์งานวิจัยคำถามและวัตถุประสงค์งานวิจัย • คำถามวิจัย • คือข้อมูลที่ผู้ทำวิจัยต้องการทราบ • ก่อนได้คำถาม ต้องทบทวนงานวิจัยในอดีตเพื่อพิสูจน์ว่าคำถามนั้นมีคำตอบที่โดนใจแล้วหรือไม่ ถ้ามีแล้วก็เปลี่ยนคำถามวิจัย ถ้ายังก็เริ่มเลย • ประกอบด้วย ใคร ทำอะไร สิ่งเปรียบเทียบ ตัววัดผล • วัตถุประสงค์ • คือประโยคบอกเล่าของคำถามวิจัย

  47. เกณฑ์คัดเลือกตัวอย่างวิจัยเกณฑ์คัดเลือกตัวอย่างวิจัย • เกณฑ์คัดเข้า • ต้องเป็นตัวแทนของประชากรที่ศึกษา • ต้องเป็นตัวแทนของโรคที่ศึกษา • ต้องมีจำนวนพอเพียง • ต้องไม่ผิดจริยธรรม • เกณฑ์คัดออก • มีข้อห้ามที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัย • ไม่ประสงค์เข้าร่วมวิจัย

  48. คำนิยามเชิงปฏิบัติ คือการอธิบายความหมายของคำสำคัญ (key words) ในงานวิจัยว่าหมายถึงอะไร

  49. กรอบแนวคิด • คือการมองในภาพกว้างของเรื่องที่ทำวิจัยว่ามีอะไรเกี่ยวข้องบ้างทั้งโดยตรงและโดนอ้อม • ผู้ป่วย • โรค • ปัจจัยเสี่ยง • ตัววัดผล

More Related