1 / 20

แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค. กรอบการบริหารงบ P&P. เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัว แก่ คนไทยทุกสิทธิ เป็น ค่าชดเชยบริการ ตามชุดสิทธิประโยชน์และ ค่าบริการเพิ่มเติม ให้หน่วยบริการ สถานพยาบาล หรือองค์กรอื่นๆ ที่จัดบริการ P&P

tempest
Download Presentation

แนวทางการใช้ข้อมูล OP/PP Individual 55 กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการใช้ข้อมูลOP/PP Individual 55กองทุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค

  2. กรอบการบริหารงบ P&P • เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวแก่คนไทยทุกสิทธิ • เป็นค่าชดเชยบริการตามชุดสิทธิประโยชน์และค่าบริการเพิ่มเติม ให้หน่วยบริการ สถานพยาบาล หรือองค์กรอื่นๆ ที่จัดบริการ P&P • เป็นค่าแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะพื้นที่ และหรือภาพรวมประเทศ • เป็นค่าสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ

  3. เป้าประสงค์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป้าประสงค์การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • เพิ่มการเข้าถึงและความครอบคลุมบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • เพิ่มคุณภาพชีวิตและลดภาระโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของประเทศ

  4. กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2555 คำนวณจาก 329.65 บาท/ปชก.UC 48.333 ลค. P&P Capitation ( 244.76 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.096ล้านคน) (1) NPP& Centralprocurement (26.47 ) (3) P&P Area based (60.00) (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ (7.68) (2) P&P Express Demand (131.96) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (18.65) Capitation (73.10) Performance (58.86) Area problem ระดับเขต/จังหวัด & คุณภาพ (20.00+ส่วนที่เหลือจากกองทุนตำบล) กองทุน อปท. (40.00) ผลงานระดับจังหวัด หักเงินเดือน CUP

  5. สิ่งที่ต่างไปจากปี 54 • P&P Express demand - เปลี่ยนการจัดสรรแบบรายกิจกรรม Itemized เป็นการจัดสรรตามกลุ่มเป้าหมายที่มีชุดกิจกรรมชัดเจน

  6.  การฝากครรภ์  การตรวจหลังคลอด  การให้ภูมิคุ้มกันโรคในทุกช่วงอายุ  การดูแลสุขภาพและพัฒนาการเด็กตามวัย  บริการวางแผนครอบครัว กิจกรรมบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ P&P  บริการตรวจคัดกรองและการปรับพฤติกรรมสุขภาพทุกกลุ่มวัย  บริการให้สุขศึกษา ความรู้ คำแนะนำ  บริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันปัญหาด้านสุขภาพจิต  บริการอนามัยโรงเรียน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

  7. รายการ Itemized กลุ่มเป้าหมาย และการรายงานข้อมูล ปีงบประมาณ 2554

  8. วัตถุประสงค์ในการใช้ข้อมูล ปี2555 1. ติดตามผลงานบริการ 2. เป็นข้อมูลประกอบการจัดสรร งบ P&P ในปีต่อไป ลดภาระการรายงานข้อมูล ของหน่วยบริการ

  9. บริการตามชุดสิทธิประโยชน์ P&P ตามกลุ่มอายุ

  10. แนวทางการใช้ข้อมูลสำหรับติดตามงาน P&P ปีงบประมาณ 2555 ในปีงบประมาณ 2555 กองทุน P&P ยกเลิกการใช้ข้อมูลสำหรับการติดตามผลงานและการจัดสรรจาก โปรแกรม e-claim โปรแกรม PPIS โปรแกรมสารสนเทศการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

  11. แนวทางการใช้ข้อมูลสำหรับติดตามงาน P&P ปีงบประมาณ 2555 • การสำรวจในชุมชนภาคตัดขวางทุกปี ทันเวลา • - กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเป้าหมายบริการ • - แสดงภาพความเป็นตัวแทนจังหวัด เขต ประเทศ • - ความถี่: ทุกปี • - ดำเนินการโดยสถาบันทางวิชาการที่เป็นอิสระ • ระบบรายงาน • - 21 แฟ้ม (OP/PP individual record) • - โปรแกรมเฉพาะ(Cervical screening) • - รายงานจากจังหวัด

  12. Survey Package PP Package OP Package 21 Files รูปแบบข้อมูลที่หน่วยบริการจัดส่ง

  13. ประเภทวัคซีนที่ให้บริการตามกลุ่มเป้าหมายประเภทวัคซีนที่ให้บริการตามกลุ่มเป้าหมาย * กรณีไม่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ตัวเลขในวงเล็บ หมายถึงจำนวนครั้งที่ต้องได้รับในช่วงอายุนั้น

  14. รหัสวัคซีน (แฟ้ม EPI : VCCTYPE)

  15. รหัสวัคซีน รหัสวัคซีน (แฟ้ม EPI : VCCTYPE)

  16. ผลการดำเนินงาน EPI แหล่งข้อมูล : OP PP individual (18 แฟ้ม) ปี 2552-2553

  17. แนวทางการรายงานข้อมูลบริการ P&P ในแฟ้ม OP ปีงบประมาณ 2555

  18. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ต้องการผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ต้องการ • สัดส่วนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการฝากครรภ์ • สัดส่วนการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ ≤12 สัปดาห์ • สัดส่วนทารกแรกเกิดที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ • สัดส่วนเด็กที่ได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • สัดส่วนเด็กนักเรียนที่ได้รับบริการอนามัยโรงเรียน • สัดส่วนหญิงอายุ 30-60 ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก • สัดส่วนผู้ใหญ่อายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า • สัดส่วนผู้ใหญ่อายุ 30 ปีขึ้นไปที่ออกกำลังกายพอเพียง • ฯลฯ

  19. ช่องทางการนำส่งข้อมูลบริการแพทย์แผนไทย ปี 55

  20. การลงรหัสการวินิจฉัยและรหัสหัตถการการลงรหัสการวินิจฉัยและรหัสหัตถการ

More Related