1 / 28

Lehman Brother Crisis

Lehman Brother Crisis. วิกฤต sub-prime. Lehman Brother คือใคร ?. Lehman Brothers Holdings Inc. เป็นวาณิชธนกิจเก่าแก่ของสหรัฐฯ ธุรกิจด้านการเงินอย่างหลากหลายครบวงจร ผู้ให้บริการบัตรเครดิตอันดับหนึ่งของสหรัฐฯ นั่นคือ American Express และการให้บริการทางการเงินอื่นๆ

teige
Download Presentation

Lehman Brother Crisis

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lehman Brother Crisis

  2. วิกฤต sub-prime

  3. Lehman Brother คือใคร ? • Lehman Brothers Holdings Inc.เป็นวาณิชธนกิจเก่าแก่ของสหรัฐฯ • ธุรกิจด้านการเงินอย่างหลากหลายครบวงจร • ผู้ให้บริการบัตรเครดิตอันดับหนึ่งของสหรัฐฯ นั่นคือ American Express และการให้บริการทางการเงินอื่นๆ • Lehman Brothers มีสินทรัพย์ ณ สิ้นปี 2007 มูลค่า 691,063 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

  4. ทำไมจึงเกิด Lehman crisis ? • บริษัทลูกของ Lehman Brothers ชื่อว่า BNC Mortgage เป็นบริษัทลูกที่ปล่อยกู้ให้กับลูกค้าที่มีปัญหาด้านเครดิต (Sub-prime lending) ที่ต้องการซื้ออสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะบ้านและที่ดิน เกิดปัญหาหนี้เสียครั้งมโหฬาร • วิกฤติ Sub-prime ยังคงลุกลามต่อเนื่องไปจนถึงบริษัทแม่ เพราะ Lehman Brothers ก็มีสินทรัพย์ที่อ้างอิงจากสินเชื่อด้อยคุณภาพ (ทั้ง Sub-prime และ Alt-A) เป็นจำนวนมาก • Lehman Brother ขาดทุนอย่างต่อเนื่อง ทั้งมูลค่าหุ้นดิ่งลงอย่างมาก • ทางรอดเดียวของ Lehman Brothers คือ การขายกิจการให้กลุ่มทุนใดๆ เพื่อประคับประคองสถานะทางการเงินของบริษัทเอาไว้

  5. Korea Development Bank , ธนาคารบาร์เคลย์ส ของอังกฤษ และ Bank of America มีการเจรจาที่จะซื้อ Lehman brother ต่อ แต่การเจรจาก็ล้มเหลวทั้งหมด • Lehman Brothers วาณิชธนกิจอันดับ 4 ของโลกประกาศล้มละลายตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลก (รวมทั้งตลาดหลักทรัพย์ไทย) ปรับตัวลดลงร้อยละ 4-5 ต่อวัน เกิดความผันผวนต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันสภาพคล่องทั่วโลกได้ตึงตัวรุนแรง (Credit Crunch) และทำให้ดอกเบี้ยตลาดLondon Interbank Offer Rate (LIBOR) ซึ่งเป็นอัตรามาตรฐานในการกู้ยืมกันในตลาดลอนดอนปรับตัวสูงขึ้นกว่าร้อยละ 2-3 ภายในวันเดียว

  6. ผลกระทบจากการล้มละลายของ Lehman Brothers ต่อสหรัฐฯ • อัตราการว่างงานเดือนสิงหาคมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 6.1% สูงสุดในรอบ 5 ปี • อัตราการฟ้องยึดหลักประกันสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์สหรัฐฯ ยังพุ่งทะยานอย่างต่อเนื่อง โดยเดือนกรกฎาคมเพิ่มขึ้น 55% มาอยู่ที่ 272,000 ราย เดือนสิงหาคมเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 303,879 ราย • รัฐบาลสหรัฐฯจะตั้งกองทุนขึ้นมาซื้อหนี้เสียของธนาคารที่มีปัญหาด้านการเงิน และห้ามทำชอร์ตเซลล์ในหุ้นบริษัทการเงิน

  7. บทวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมสหรัฐอเมริกาบทวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมสหรัฐอเมริกา

  8. (Real GDP) หดตัวร้อยละ 0.5 ในไตรมาสที่3 ของปี 2551 และมีการหดตัวอย่างรุนแรงที่ร้อยละ 6.3 ในไตรมาสสุดท้ายของปี 2551 • อัตราการว่างงานในเดือนมีนาคม ปี2552ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 8.5 • ปี 2551 ดัชนี S&P 500 ร่วงลงถึงร้อยละ 38 และร่วงลงต่อเนื่องอีกร้อยละ 12 ในไตรมาสแรกของปี 2552 • ดัชนีบ่งชี้ความผันผวนของราคาหุ้นในดัชนี S&P500 เพิ่มขึ้นแตะระดับสูงสุดในประวัติการณ์ที่ร้อยละ 80 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2551 • สินเชื่อของทั้งครัวเรือนและภาคธุรกิจตึงตัวรุนแรงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2551

  9. ผลกระทบต่อภูมิภาค

  10. ความเชื่อมโยงทางการค้า (Intertrade Linkage) • การบริโภคและการลงทุนชะลอตัวลงจากความไม่มั่นใจของผู้บริโภคและภาคธุรกิจ ส่งผลต่อประเทศที่มีสหรัฐฯ เป็นคู่ค้าสำคัญจากการส่งออก เช่น กลุ่มประเทศยูโร ญี่ปุ่น และภูมิภาคเอเชีย • ราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์ลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มูลค่าการส่งออกประเทศผู้ส่งออกสินค้าเหล่านี้เป็นหลักลดลง เช่น เช่น ตะวันออกกลาง ลาตินอเมริกา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์

  11. การแพร่กระจายของวิกฤตการเงินสู่ภูมิภาคเอเชียการแพร่กระจายของวิกฤตการเงินสู่ภูมิภาคเอเชีย • ภูมิภาคเอเชียได้รับผลกระทบน้อยกว่าภูมิภาคอื่นๆเ เนื่องจากการทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์เสี่ยงประเภท subprime มีค่อนข้างน้อยและสถาบันการเงินมีฐานะการเงินที่ดี โดยได้รับผลกระทบทางอ้อมจากการเร่งขายทรัพย์สินจำนวนมาก(deleveraging) ของนักลงทุนต่างประเทศนำไปสู่ปัญหาสภาพคล่องที่ตึงตัวของภาคธุรกิจและต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้น

  12. ผลกระทบต่อไทย

  13. ในระยะสั้น วิกฤต Lehman Brothers มีผลกระทบต่อไทยใน 2 ด้าน -ผลกระทบทางตรง -ผลกระทบทางอ้อม

  14. ผลกระทบทางตรง:

  15. ผลกระทบทางตรง • ความเสียหายจากสถาบันการเงินไทยที่ไปลงทุนใน Lehman Brothers โดยตรง • ความเสียหายจากธุรกิจที่ Lehman Brothers ที่ลงทุนในไทย • ความเสียหายจากสถาบันการเงินต่างๆ ที่ทำธุรกรรมกับ Lehman Brothers

  16. ผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้นผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้น • ตลาดหลักทรัพย์ผันผวน

  17. ผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้นผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้น • สภาพคล่องในประเทศอาจตึงตัวตามตลาดโลก

  18. ผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้นผลกระทบทางอ้อม>>ระยะสั้น • ค่าเงินบาทจะผันผวนมาก

  19. กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยนในรูป บาท/ดอลลาร์สรอ ที่บาทมีแนวโน้มแข็งค่าในระยะสองปีหลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกา จึงส่งผลต่อการส่งออกของไทย

  20. ผลกระทบทางอ้อม>>ระยะปานกลางถึงยาวผลกระทบทางอ้อม>>ระยะปานกลางถึงยาว • เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ทำให้การส่งออกของไทยลดลง • เศรษฐกิจไทยที่พึ่งพาการส่งออกมากจะชะลอตามไปด้วย

  21. ผลกระทบจากปัญหา Subprime ที่มีต่อประเทศไทย

  22. ผลกระทบจากปัญหา Subprime ที่มีต่อประเทศไทย

  23. ความสัมพันธ์ของทฤษฎีต่างๆ ภายใต้เงื่อนไขเสมอภาค

  24. จากผลของตัวแปรต่าง ๆ ในเศรษฐกิจ จะพบว่า อัตราแลกเปลี่ยนของไปไทยแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ( ดอลลาร์อ่อนค่าลงเมื่อเที่ยบเงินบาท ) อัตราเงินเฟ้อของอเมริกา ปรับตัวสูงขึ้นมาก เกือบถึง 10% และอัตราดอกเบี้ยของอเมริกามีแนวโน้มสูงขึ้นโดยอัตราดอกเบี้ยของไทยมีแนวโน้มลดลงโดยเปรียบเทียบ

  25. แนวนโยบายเศรษฐกิจไทย • ระยะสั้น • หน่วยงานภาครัฐจึงควรดูแลสภาพคล่องภายในประเทศให้เพียงพอ - ธปท.ควรเข้าดูแลตลาดอัตราแลกเปลี่ยนให้เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกันกับค่าเงินของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ค่าเงินบาทไม่ผันผวนเกินไป

  26. แนวนโยบายเศรษฐกิจไทย • ระยะปานกลางถึงยาว - รัฐบาลควรจะเร่งการใช้จ่ายในประเทศโดยเน้นการลงทุนให้เร็วที่สุด - นโยบายการเงินอาจจะต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว ให้สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจที่ในขณะนี้ความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อน้อยกว่าความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจหดตัว(Recession) - นโยบายในระยะยาวจะต้องเร่งกระจายตลาดการส่งออก - ควรเน้นควรมีการเพิ่มความร่วมมือทางการเงินในเอเชีย

  27. การใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังควบคู่กันในการแก้ปัญหาการใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังควบคู่กันในการแก้ปัญหา

  28. The end

More Related