1 / 56

บทที่ 4

บทที่ 4. ทฤษฎีการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ. การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ ในระบบเศรษฐกิจ.

tavon
Download Presentation

บทที่ 4

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 ทฤษฎีการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ

  2. การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจ • รายได้ประชาชาติดุลยภาพ(Equilibrium National Income: YE) คือ ระดับรายได้ประชาชาติที่เกิดจากผลผลิตมวลรวมเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม แสดงว่าสินค้าที่ผลิตออกมาขายได้หมดพอดี การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลังเท่ากับ 0 ดังนั้น รายได้ประชาชาติดุลยภาพจึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงตราบเท่าที่ตัวแปรหรือองค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง

  3. ฟังก์ชันความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desired Aggregate Expenditure) คือ ฟังก์ชันที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) และรายได้ประชาชาติ (Y) ซึ่งบอกให้ทราบว่า ครัวเรือน ธุรกิจ รัฐบาล และต่างประเทศ มีความต้องการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศเท่าใด ณ ระดับรายได้ต่างๆ

  4. DAE DAE b DAE a c Y 0 Y (real income) เรียกว่า แนวโน้มส่วนเปลี่ยนแปลงในการใช้จ่าย (Marginal propensity to spend)

  5. วิธีการวิเคราะห์การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพวิธีการวิเคราะห์การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพในแบบจำลองเศรษฐกิจทุกแบบ แบ่งเป็น 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 รายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ รายได้ประชาชาติเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Income-Expenditure Approach) วิธีที่ 2 รายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ การรั่วไหลเท่ากับการอัดฉีด (Withdrawal - Injection Approach)

  6. การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาลการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล • ระบบเศรษฐกิจมี 2 ภาค คือ ภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน • ไม่มีภาคการค้าระหว่างประเทศ • ไม่มีภาครัฐบาล • ราคาสินค้า อัตราค่าจ้าง และอัตราดอกเบี้ยคงที่ ข้อสมมติ

  7. DAE Y=DAE D unintended investment DAE = C+I Equilibrium point G C E A F B unintended disinvestment H C I = Ia 0 Y2 Y1 Y3 Income-Expenditure Approach Y (Real income)

  8. S, I S C Equilibrium point unintended investment A E I=Ia unintended disinvestment D B Y (Real income) Y2 Y1 Y3 Equilibrium income Withdrawal-Injection Approach

  9. การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ระดับรายได้ดุลยภาพอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเส้นความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของเส้น DAE เกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ 1. กรณีที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปไม่เปลี่ยนแปลง เส้น DAE อาจเปลี่ยนแปลงได้เนื่องจากปัจจัยอื่นๆที่กำหนด C,I,G,X,M ซึ่งมิใช่รายได้เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เส้น C,I,G,X,M มีการเคลื่อนที่ขึ้นหรือเคลื่อนที่ลง จึงทำให้เส้น DAE เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงทั้งเส้น 2. กรณีที่ระดับราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง กรณีนี้เส้น DAE จะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเปลี่ยนแปลง แต่ปัจจัยอื่นๆที่กำหนด C,I,G,X,M ที่มิใช่รายได้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง

  10. ตัวคูณ (Multiplier) ความหมายของตัวคูณ: คือ ตัวเลขที่คูณกับส่วนเปลี่ยนแปลงของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม เพื่อหาค่าการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพ นั่นคือ ตัวเลขที่จะบอกขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพเมื่อเส้นความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป หรืออีกนัยหนึ่งคือ อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ประชาชาติดุลยภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของ DAE ที่ทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพเปลี่ยนแปลง

  11. ถ้าให้ k = multiplier DAE = ส่วนเปลี่ยนแปลงของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม Y = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ • ดังนั้น จะได้ว่า • ถ้าตัว DAE ที่เปลี่ยนไปคือ Autonomous Investment Expenditure เรียกว่า ตัวคูณการลงทุน (investment multiplier) • ถ้าตัว DAE ที่เปลี่ยนไปคือ Autonomous Consumption Expenditure เรียกว่า ตัวคูณการบริโภค (consumption multiplier)

  12. ที่มาของตัวคูณ: เมื่อบุคคลหนึ่งใช้จ่ายออกไป รายจ่ายนั้นจะเป็นรายได้ของอีกคนหนึ่ง และบุคคลนั้นจะใช้จ่ายออกไปอีก กลายเป็นรายได้ของคนต่อๆไป สมมติว่าผู้ที่มีรายได้ทุกคนในระบบเศรษฐกิจเมื่อได้รับรายได้เข้ามา จะแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งเป็นเงินออม และอีกส่วนหนึ่งเอาไว้ใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ดังนั้น รายจ่ายเพื่อการบริโภคซึ่งกลายเป็นรายได้ของคนต่อๆไปจะลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเงินส่วนที่ตกไปอยู่ในมือของผู้รับคนสุดท้ายน้อยมากจนมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ กระบวนการทำงานของตัวคูณจะสิ้นสุดลง เมื่อเงินออมรวมเท่ากับเงินที่จ่ายออกมารอบแรก

  13. ความขัดแย้งของการประหยัด (Paradox of Thrift) • เป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่แสดงให้เห็นถึงการขัดแย้งระหว่างส่วนย่อยกับส่วนใหญ่ (Fallacy of Composition) • เมื่อประชาชนทุกคนออมมากขึ้น น่าจะทำให้เงินออมของระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แต่ความจริง พบว่า เงินออมของระบบเศรษฐกิจในระยะเวลาต่อมาไม่เพิ่มขึ้น และอาจลดลงอีกด้วย

  14. พิจารณาใน 2 กรณี คือ • กรณีการลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment) • กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)

  15. S ,I S1 S0 A E1 I= Ia E0 Y (Real Income) Y0 Y1 1.กรณีการลงทุนแบบอิสระ(Autonomous Investment)

  16. S ,I S1 S0 A I= Ia +iY E0 E1 Y (Real Income) Y1 Y0 2.กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)

  17. สรุป • กรณีของการลงทุนแบบอิสระ (I = Ia) หากกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ การประหยัดมากขึ้น จะทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพลดลง และจำนวนเงินออมที่เกิดขึ้นจริงเท่าเดิม • กรณีของการลงทุนแบบจูงใจ (I = Ia+iY) หากกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ การประหยัดมากขึ้น จะทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพลดลง และจำนวนเงินออมที่เกิดขึ้นจริงลดลงด้วย

  18. Paradox of Thrift จะเป็นจริงภายใต้ข้อสมมติฐานว่าความตั้งใจจะออม และความตั้งใจลงทุน ไม่มีความสัมพันธ์กัน กลุ่มผู้ลงทุน และกลุ่มผู้ออม เป็นคนละกลุ่มกัน  รายได้ประชาชาติจะไม่เปลี่ยนแปลง

  19. S ,I S2 S1 E3 I2 E2 I1 E1 Y (Real Income) Y1 Y2 1.กรณีการลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment)

  20. S ,I S2 I2 E3 S1 I1 E1 E2 Y (Real Income) Y2 Y1 2.กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)

  21. S ,I S2 S1 E2 Ia E1 GNP GAP Y (Real Income) Y1 Y0 = Y F Implication of Paradox of Thrift กรณีที่เศรษฐกิจ มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) การประหยัดมากขึ้น ทำให้เกิด GNP GAP

  22. S ,I S2 S1 E2 E1 I GNP GAP เดิม Y (Real Income) YF Y2 Y1 GNP GAP ใหม่ ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจ อยู่ต่ำกว่าระดับการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) การประหยัดมากขึ้น ทำให้เกิด GNP GAP ที่มากขึ้น

  23. การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาลการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล เมื่อมีภาครัฐบาลเข้ามา รัฐบาลจะทำหน้าที่ 2 อย่างคือ ใช้จ่ายและเก็บภาษี • ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของภาครัฐบาล ประกอบด้วย • ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ (Government Expenditure: G) • รายจ่ายเงินโอนของรัฐบาล (Government transfer payment: R) • การเก็บภาษี ในที่นี้จะแบ่งภาษีออกเป็น 2 อย่าง คือ • ภาษีเหมาจ่าย (Lum-sum tax) เป็นภาษีที่จัดเก็บโดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับรายได้หรือตัวแปรใดๆ เป็นภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บเป็นก้อนเพียงครั้งเดียว • ภาษีเงินได้ (Income tax) เป็นภาษีที่จัดเก็บโดยมีความสัมพันธ์กับรายได้ T=T(Y)

  24. Y =DAE DAE DAE2= C+I+G DAE1= C+I A E2 E1 C =f(Y) unintended disinvestment I =Ia G=Ga Y (Real income) 45 0 YE1 YE2 รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาล สมมติยังไม่มีการเก็บภาษี

  25. S S, I E2 I+G E1 I S=I+G S=I Y (Real income) 0 YE1 YE2 รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาล สมมติยังไม่มีการเก็บภาษี

  26. รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาลและมีการเก็บภาษี DAE Y =DAE C+I+G C = 15 C’+I+G E0 สมมติ MPC = 0.75 และมีการเก็บภาษี 20 ลบ E1 Y (Real income) 0 Y1 Y0

  27. รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาลและมีการเก็บภาษี Sa+Tn S, I Sb Tn = 20 Sa A -5 E1 E0 I+G Sa+Tn=I+G Sb=I+G 0 Y1 Y0 ส่วนรั่วไหล = ส่วนอัดฉีด S + T = I+G

  28. การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ Y=DAE DAE C+I+G C/+I+G E1 C (a) E2 ผู้บริโภคคาดการณ์ว่าราคาสินค้าในอนาคตจะลดลง Y (real income) 0 Y2 Y1 DAE Y=DAE C+I /+G E2 I C+I+G (b) E1 อัตราดอกเบี้ยลดลง Y (real income) 0 Y1 Y2

  29. รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (equilibrium income)และรายได้ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (full employment income) Y=DAE DAE DAEF F DAE Deflationary gap A E GNP Gap แสดงจำนวนผลผลิตที่สูญเสียไปเนื่องจากการจ้างงานไม่เต็มที่ 0 Y (real income) YE YF GNP Gap บอกการว่างงาน

  30. Y=DAE DAE DAE E DAEF A Inflationary gap F 0 Y (real income) YF YE GNP Gap เป็นลบบอกถึง price effect

  31. (1) การหารายได้ดุลยภาพ : Income-Expenditure Approach การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด รายได้ประชาชาติดุลยภาพในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด จะอยู่ ณ ระดับที่รายได้ประชาชาติเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม นั่นคือ YE: Y = C+I+G+(X-M) = C+I+G+Xn

  32. การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิดการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะอยู่สูงกว่าหรือต่ำกว่าหรือเท่ากับรายได้ประชาชาติดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจแบบปิด ขึ้นอยู่กับว่า DAE จะตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ Xn มีค่าเป็นเท่าใด

  33. กรณีที่ 1: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เป็นบวก Y=DAE DAE DAEปิด= C+I+G DAEเปิด= C+I+G+X-M Eเปิด Xn= 0 Eปิด ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะอยู่สูงกว่ารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Xn 0 Y(real income) 0 Yเปิด Yปิด

  34. กรณีที่ 2: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เป็นลบ DAEปิด= C+I+G Y=DAE DAE Eปิด DAEเปิด= C+I+G+X-M Xn= 0 ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะอยู่ต่ำกว่ารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Eเปิด Xn < 0 Y(real income) 0 Yเปิด Yปิด

  35. กรณีที่ 2: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เท่ากับ 0 DAEปิด= C+I+G Y=DAE DAE Xn= 0 DAEเปิด= C+I+G+X-M ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะเท่ากับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Y(real income) 0 Yปิด = Yเปิด

  36. (2)การหารายได้ดุลยภาพ:Withdrawal-Injection Approach ในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C+S+Tn DAE = C+I+G+X-M YE: Y = DAE C+S+Tn = C+I+G+X-M • S+Tn+M = I+G+X

  37. กรณีที่ 1: รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นบวก DAE Sa+Tn+M X>M Sa+Tn Sb E2 Sa I+G+X M X ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีมากกว่าผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงเพิ่มสูงขึ้น E1 I+G E0 I=Ia Y(real income) Yปิด Y0 Yเปิด

  38. กรณีที่ 2 : รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นลบ DAE Sa+Tn+M Sa+Tn X<M Sb Sa E2 I+G+X X E1 M I+G ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีน้อยกว่าผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงลดลง E0 I=Ia Y(real income) Y0 Yเปิด Yปิด

  39. กรณีที่ 3 : รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นศูนย์ DAE Sa+Tn+M Sa+Tn X=M Sb Sa E2 I+G+X X M E1 I+G ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีเท่ากับผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงคงที่ E0 I=Ia Y(real income) Y0 Yปิด =Yเปิด

  40. ตัวคูณการค้าระหว่างประเทศ (Foreign Trade Multiplier) สมมติว่า มีการใช้จ่ายการลงทุนเพิ่มขึ้นในระบบเศรษฐกิจ รายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบแรกจะเท่ากับมูลค่าค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่เพิ่มขึ้นพอดี รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ก็จะถูกใช้จ่ายเพื่อบริโภคเพิ่มขึ้น(ตามค่าของMPC) และบางส่วนของรายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ก็จะถูกใช้จ่ายซื้อสินค้าเข้าเพิ่มขึ้น(ตามค่าของ MPM) ดังนั้น รายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบสองนี้จะเพิ่มขึ้นเท่ากับมูลค่าการใช้จ่ายในการบริโภคที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด ลบด้วยค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเข้า รายได้ที่เพิ่มขึ้นน้อยลงในรอบที่ 2 นี้จะทำให้รายได้ในรอบต่อๆไปเพิ่มขึ้นน้อยลงกว่าอีก เหตุการณ์จะเป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ในที่สุด ผลรวมของการขยายตัวของรายได้ทั้งหมดจะน้อยกว่าการขยายตัวของรายได้ในระบบเศรษฐกิจแบบปิด เนื่องจากค่าของตัวคูณกรณีระบบเศรษฐกิจแบบปิดจะมีค่ามากกว่าตัวคูณกรณีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด

  41. ที่มาหรือรากฐานของตัวคูณการค้าระหว่างประเทศที่มาหรือรากฐานของตัวคูณการค้าระหว่างประเทศ การบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามค่า MPC การนำเข้าที่เพิ่มขึ้นตามค่า MPM ตัวคูณของระบบเปิด มีค่าน้อยกว่าตัวคูณของระบบปิด รายได้ในรอบนี้เท่ากับมูลค่าค่าใช้จ่ายในการบริโภค ลบค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเข้า

  42. รายได้ประชาชาติและระดับราคารายได้ประชาชาติและระดับราคา ที่ผ่านมาเป็นการพิจารณารายได้ดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงรายได้ดุลยภาพ เมื่อราคาคงที่ ต่อจากนี้จะเป็นการพิจารณาผลกระทบต่อรายได้ดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงรายได้ดุลยภาพ เมื่อราคาสินค้าและบริการมีการเปลี่ยนแปลง

  43. การเปลี่ยนแปลงระดับราคาส่งผลต่อ DAE

  44. ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2

  45. กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเปลี่ยนแปลง • . • . • . • .

  46. กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลง ราคาสินค้าเพิ่ม จำนวนสินค้าเท่าเดิม Demand ของปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ต้นทุนของเงินเพิ่มขึ้น กู้ยืม

  47. กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลง ราคาสินค้าลด จำนวนสินค้าเท่าเดิม Demand ของปริมาณเงินลดลง ต้นทุนของเงินลดลง

  48. ก. ราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น ทำให้ราคาสินค้าในประเทศแพงเมื่อเทียบกับราคาสินค้านำเข้า จึงมีการนำเข้ามาก ขณะที่สามารถส่งออกได้น้อยลง การส่งออกสุทธิจึงลดลง ส่งผลให้ DEA ลดลงด้วย P M E Xn DAE ก P M E Xn DAE ข กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การส่งออกสุทธิเปลี่ยนแปลง ข. ราคาสินค้าลดลง ทำให้ราคาสินค้าในประเทศถูกกว่าราคาสินค้านำเข้า จึงมีการนำเข้าลดลง ขณะที่สามารถส่งออกได้มากขึ้น การส่งออกสุทธิจึงเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ DEA เพิ่มขึ้นด้วย

More Related