1 / 124

การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน. Performance Based Budgeting : PBB. PBB. Process. Output. Outcome. Input. ผลผลิต. ผลลัพธ์. 1. การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน. “ สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการจัดการ

Download Presentation

การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน Performance Based Budgeting : PBB

  2. PBB Process Output Outcome Input ผลผลิต ผลลัพธ์ 1

  3. การบริหารงบประมาณสถานศึกษา ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน “สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการจัดการ ทางการเงิน 7 ประการ(7 Hurdles) ” 2

  4. งบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน - 7 Hurdles * Performance Based Budgeting : PBB 1 การวางแผนงบประมาณ 2 การคำนวณต้นทุนของกิจกรรม 3 การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง 4 การบริหารทางการเงิน/งบประมาณ 5 การรายงานการเงินและผลการดำเนินงาน 6 การบริหารสินทรัพย์ การตรวจสอบภายใน 7 3

  5. ประการที่ 1 การวางแผนงบประมาณ แผนกลยุทธ์สถานศึกษา + แผนงานประจำ (SCHOOL STRATEGIC & ROUTINEPLAN) กรอบประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ระยะปานกลาง (MEDIUM TERM EXPENDITURE FRAMEWORK: MTEF) 4

  6. ประการที่ 2 การคำนวณต้นทุนผลผลิต ( Activity - Based Costing ) เป็นการคิดต้นทุนการดำเนินการต่อหน่วยผลผลิตของกิจกรรมภายใต้โครงการตามแผนกลยุทธ์สถานศึกษา 5

  7. ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ( Procurement management ) ประการที่ 3 ที่แสดงถึง :- • ความโปร่งใส • ความยุติธรรม • ตรวจสอบได้ 6

  8. จัดระบบการบริหารการเงินและ ควบคุมงบประมาณ ( Financial managment & Budget control ) ประการที่ 4 • กำหนดระดับมาตรฐาน • กำหนดความรับผิดชอบในเรื่องบัญชีและการเงิน • ใช้ระบบบัญชีแบบพึงรับพึงจ่ายหรือบัญชีคงค้าง 7

  9. จัดระบบการวางแผนการเงินและจัดระบบการวางแผนการเงินและ การรายงานผลการดำเนินการ (Financial & Performance Reporting) ประการที่ 5 • การแสดงความโปร่งใส • การตรวจสอบ • การประเมินผลโครงการ • การรายงานผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ 8

  10. จัดระบบการบริหารสินทรัพย์จัดระบบการบริหารสินทรัพย์ (Asset management) ประการที่ 6 • การเพิ่มประสิทธิภาพและ • ประสิทธิผลของการใช้ทรัพยากร • ความคุ้มค่าและคุ้มทุน 9

  11. จัดระบบตรวจสอบภายใน ( Internal Audit ) ประการที่ 7 • ตรวจสอบผลการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ - ตรวจสอบผลผลิต จาก กิจกรรม ( Activity ) - ตรวจสอบผลลัพธ์ จาก โครงการ ( Program ) - ตรวจสอบผลกระทบ จาก แผนงาน ( Project ) • ตรวจสอบรายงานทางการเงิน - เทียบเคียงผลการดำเนินการกับงบประมาณที่ใช้ 10

  12. ผลงาน*คุ้มค่า การตรวจสอบการทำงาน PBB ร่องรอย*ทำจริง ถูกต้อง โปร่งใส คุณภาพการศึกษา แผนงาน/โครงการ *สอดคล้อง สถานศึกษา 11

  13. SPBB ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

  14. แนวคิดและหลักการ BUDGET • การปรับปรุงให้รัฐสามารถใช้วิธีการและกระบวนการงบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดผลสำเร็จตามนโยบายและประชาชนได้รับประโยชน์ • ระบบงบประมาณสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน • มุ่งเน้นให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ โดยคำนึงถึงความโปร่งใสประสิทธิภาพและประสิทธิผล • การมอบความคล่องตัวในการจัดทำและบริหารงบประมาณให้กับผู้ปฏิบัติ 1

  15. Budget การออกแบบระบบและวิธีการงบประมาณ มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • คำนึงถึงความสำเร็จของงานตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • บริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล(Good Governance) • มีการกระจายอำนาจและความรับผิดชอบในการวางแผนจัดการและบริหารงบประมาณแก่กระทรวง ทบวง กรม โดยสามารถแสดงความรับผิดชอบของฝ่ายต่าง ๆ ที่กี่ยวข้องออกเป็น 3 ระดับ 2

  16. Budget เงื่อนไขที่สำคัญของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์(SPBB) • มีกลยุทธ์ในการดำเนินงานที่ครอบคลุมหลายมิติ • ก่อให้เกิดการบริหารจัดการแบบปรับตัวได้ ยืดหยุ่น คล่อง ตัว กระจายอำนาจ ทันเหตุการณ์ • ยึดหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี(Good Governance) มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3

  17. SPBB ยุทธศาสตร์ : บูรณาการ Function Agenda Area มิติหน่วยงาน มิตินโยบายเฉพาะ มิติพื้นที่ : : : 4

  18. Budget ยุทธศาสตร์การดำเนินงานครอบคลุมบูรณาการ 3 มิติ • ยุทธศาสตร์กระทรวงและหน่วยงาน (Function)ทำงานตาม ภารกิจของกระทรวง(ภารกิจประจำและภารกิจตามยุทธศาสตร์)ที่มีเป้าหมายและแนวทางที่ชัดเจนภายใต้ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ • ยุทธศาสตร์เฉพาะของรัฐบาล (Agenda)นโยบายเฉพาะเรื่องที่รัฐบาลมอบหมาย ไม่ได้ขึ้นกับกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง เน้นการมีเป้าหมายการทำงานร่วมกัน เช่น นโยบายปราบปรามยาเสพติด • ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area)ได้แก่ กลุ่มจังหวัด จังหวัด เป้าหมายและยุทธศาสตร์เน้นเฉพาะในพื้นที่ 5

  19. SPBB องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ 6

  20. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ • ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 7

  21. 3 6 7 1 การตรวจสอบภายใน การวางแผน งบประมาณ การจัดระบบ การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหาร สินทรัพย์ 2 4 5 การคำนวณ ต้นทุนกิจกรรม การบริหารทางการเงินและควบคุมงบประมาณ การรายงานทางการเงิน และผลการดำเนินงาน แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ 5 แผนงาน แผนปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงิน พัสดุ สำนักงบประมาณ SPBB (Strategy Performance Base Budgeting) 7 Hurdles 8

  22. แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์แผนภูมิการวางแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ์ ผลงานองค์กร แผนกลยุทธ์ การจัดทำงบประมาณ MTEF การบริหารงบประมาณ แผนปฏิบัติการ KPI/Balanced Scorecard:BSC การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 9

  23. การเงินสถานศึกษา

  24. เงินในสถานศึกษา 1. เงินอุดหนุน 2. เงินรายได้สถานศึกษา

  25. เงินอุดหนุน

  26. หนังสือสั่งการ หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548 2

  27. เงินอุดหนุน 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน 3.ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 3

  28. 1. เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10 • * หมวด 8 มาตรา 60 4

  29. หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา • ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้ • อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” 5

  30. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10“การจัดการศึกษา • ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ • รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐ • ต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ • ค่าใช้จ่าย 6

  31. * หมวด 8 มาตรา 60 “ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณ เพื่อการศึกษาดังนี้(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน” 7

  32. วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545 8

  33. แนวทางการใช้งบประมาณ 1. สถานศึกษาจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2. เสนอแผนฯ ผ่านความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ 4. ใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ 9

  34. งบประมาณ คชจ.รายหัว * ก่อนประถม 1,700 บาท/คน * ประถม 1,900 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน 10

  35. 3 ประเภท ลักษณะการใช้งบประมาณ • งบบุคลากร • *ค่าจ้างชั่วคราว เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน • พนักงานขับรถ ฯลฯ 11

  36. งบดำเนินงาน • * ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร • ค่าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้องถิ่น ฯลฯ • * ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ • ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพา นร. • ไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • * ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเครื่องเขียน • ค่าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน ฯลฯ • * ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ • ฯลฯ 12

  37. งบลงทุน • * ค่าครุภัณฑ์ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ • * ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบ • ดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่อน้ำ ฯลฯ 13

  38. 2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน นร.ยากจน = นร.ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท/ปี ให้นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3 14

  39. งบประมาณ * ประถม 460 บาท/คน/ปี * มัธยมศึกษาตอนต้น และขยายโอกาส 2,500 บาท/คน/ปี 15

  40. ลักษณะการใช้งบประมาณ ลักษณะ ถัวจ่าย ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน ค่าเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และค่าพาหนะในการเดินทาง 16

  41. การใช้จ่ายงบประมาณ • 1. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน • 2. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน • ค่าอาหารกลางวัน • ค่าพาหนะในการเดินทาง 17

  42. การจัดซื้อ – จัดจ้าง – จัดหา ดำเนินการตามระเบียบฯพัสดุ การจ่ายเงินสดให้ นร. โดยตรง แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ร่วมกันจ่ายเงิน ใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน 18

  43. แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพท. • เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน • รายงานผลการดำเนินงาน 19

  44. 3. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน ป. 1 - ม. 3 20

  45. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอนค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน = เงินงบประมาณที่จัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่ได้ ดำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ไว้สำหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการควบคุม ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา 21

  46. ยกเว้น • นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจำ • นร.ในสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาที่ได้ดำเนินการจัดหอพักในสถานศึกษาและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นร. ประจำพักนอนทุกคนแล้ว • กรณีเรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน จัดสรรให้ได้เฉพาะจำนวน นร. ส่วนที่เหลือ 22

  47. ลักษณะการใช้งบประมาณ ใช้เป็นค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 23

  48. การใช้จ่ายงบประมาณ • จ่ายหรือจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ดังนี้ • * จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร หรือ • จ้างเหมาทำอาหาร • * จ่ายเงินสดให้ นร. • หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนำไป • ใช้จ่ายรายการอื่นที่เกี่ยวกับการจัดอาหารได้ 24

  49. แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูลจากโครงการ นร.ประจำพักนอน • และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน • งบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจำพักนอน • รายงานผลการดำเนินงาน 25

  50. รายได้ สถานศึกษา โดย ยุพดี ดีอินทร์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน 8 ว สพท.กทม. 2

More Related