1 / 26

โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย ระหว่างวันที่ 1 – 27 กุมภาพันธ์ 2555

โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย ระหว่างวันที่ 1 – 27 กุมภาพันธ์ 2555. โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27 กุมภาพันธ์ 2555.

tamra
Download Presentation

โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย ระหว่างวันที่ 1 – 27 กุมภาพันธ์ 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย ระหว่างวันที่ 1 – 27 กุมภาพันธ์ 2555

  2. โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27 กุมภาพันธ์ 2555 โรคไข้เลือดออกมี 9 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 1.45/แสน. อำเภอเมือง 5 ราย อำเภอปากชม ภูเรือ ภูกระดึง หนองหิน อำเภอละ 1 ราย

  3. พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2555 • อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวน(ราย) วันเริ่มป่วย เมือง กุดป่อง บ้านติ้ว 1 17 ก.พ. นาอาน ขอนแดง ม.2 1 7 ม.ค. นาโป่ง ห้วยโตก ม.1 1 5 ก.พ. กกชุมแสง ม.101 16 ก.พ. กกทอง กกทอง ม.3 1 15 ก.พ.

  4. พื้นที่เกิดโรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2555 • อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน จำนวน(ราย) วันเริ่มป่วย ปากชม ห้วยพิชัย ใหม่พัฒนา ม.10 1 2 ก.พ. ภูเรือ ลาดค่าง ห้วยผักเน่า ม.1 1 2 ก.พ. ภูกระดึง ห้วยส้ม ห้วยไผ่ ม.10 1 15 ก.พ. หนองหิน หนองหิน ลานมัน ม.14 1 15 ก.พ.

  5. ความครอบคลุมและความทันเวลาของการส่ง 506 ของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27กุมภาพันธ์ 2555

  6. ความครอบคลุมและความทันเวลาของการส่ง 506 ของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 27 กุมภาพันธ์ 2555

  7. ความต่อเนื่องของการส่ง 506 ของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2555(1 – 27 ก.พ.55) การส่งรายงาน 506 ต้องมีความต่อเนื่องทุกสัปดาห์

  8. ความต่อเนื่องของการส่ง 506 ของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอประจำเดือนมกราคม 2555(1 – 25 ม.ค.55) การส่งรายงาน 506 ต้องมีความต่อเนื่องทุกสัปดาห์

  9. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่ • วันที่ 20 ก.พ.55 สสจ.เลยได้รับแจ้ง case จาก รพ.เลย ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 60 ปี อยู่บ้าน บวกอ่าง ม.2 ต.โคกใหญ่ อ.ท่าลี่ เริ่มป่วยวันที่ 17 ก.พ.55 รักษาวันที่ 19 ก.พ.55 (refer จาก รพ.ท่าลี่) • วันที่ 22 ก.พ.55 ได้รับแจ้งจาก รพ.เลยว่าผู้ป่วยเสียชีวิต • วันที่ 22 ก.พ.55 สอบสวนโรคที่ รพ.เลย และวันที่ 27 ก.พ.55 ติดตามการสอบสวนควบคุมโรคในพื้นที่

  10. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่ • ผลการสอบสวนโรคพบว่าผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือดสูง หอบหืด รักษาที่ รพ.ท่าลี่ และคลินิกแพทย์ในจังหวัดเลย • ปี่ที่ผ่านมาเคยมีบาดแผลที่เท้าข้างขวา รับการรักษาที่คลินิกแพทย์ในจังหวัดเลย(ไม่รับบริการจาก รพ.เนื่องจากกลัวถูกตัดเท้า) • ประมาณ 1 เดือนก่อนป่วย ปลายเท้าขวาเหยียบตะปูแผลลึก แต่เลือดไม่ออก จึงไม่ได้ไปรักษาและไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก

  11. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่ • ประวัติการป่วยปัจจุบัน วันที่ 16 ก.พ.55 ผู้ป่วยมีไข้ หลังเท้าขวาบวม ไม่ได้ไปรักษา ต่อมาวันที่ ๑๙ ก.พ.๕๕ มีไข้สูง หลังเท้าขวาปวด บวมแดง มีตุ่มน้ำใสขึ้นบริเวณหลังเท้า ปากเบี้ยว ลิ้นแข็ง กลืนน้ำไม่ได้ ญาติจึงนำส่ง รพ.ท่าลี่ ไม่ได้บอกข้อมูลการเหยียบตะปู แพทย์วินิจฉัย Stroke, Cellulitis of finger and toe ส่งต่อ รพ.เลยพร้อมให้ NSS ๑,๐๐๐ ml. IV drip o2 sat ๙๖ %

  12. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอท่าลี่ ผู้ป่วย ถึง รพ.เลยวันที่ ๑๙ ก.พ.๕๕ เวลา ๒๐.๒๐ น.มีอาการอ้าปากลำบาก กลืนลำบาก ปวดเกร็งคอและหลัง ตรวจร่างกาย T= ๓๗.๕ oC P = ๙๔ ครั้ง R= ๒๒ ครั้ง BP = ๑๘๔/๗๓ mmHg. วินิจฉัยขั้นต้น Netcrotizing fasciitis right foot R/O Tetanus ให้รักษาที่ตึกผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง ให้ยาปฏิชีวนะ Cef-3 ,PGS,RND วันที่ ๒๐ ก.พ.๕๕ เวลา ๐๑.๓๐ น. แพทย์ให้รับไปผ่าตัด Debridement ส่งกลับตึก On Et-tube with bird ,s respirator ผู้ป่วยได้รับการรักษาตามแผนการรักษาจนถึงวันที่ ๒๒ ก.พ. ๕๕ เวลา ๐๓.๒๕ น. ผู้ป่วยเสียชีวิต สรุปการวินิจฉัยโรคเป็น Tetanus

  13. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอเมืองการสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอเมือง • วันที่ 28 ก.พ.55 เวลา 15.30 น. สสจ.เลยได้รับแจ้ง case จาก รพ.เลย ว่ามีผู้ป่วยบาดทะยักเสียชีวิต เพศชาย อายุ 63 ปี อยู่บ้านหนองผักก้าม ต.กุดป่อง อ.เมือง เริ่มป่วยวันที่ 14 ก.พ.55 รักษา รพ.เลยวันที่ 18 ก.พ.55 เสียชีวิตวันที่ 25 ก.พ.55 สอบสวนโรคจากบันทึกการรักษาผู้ป่วยที่ รพ.เลย ทราบว่า ผู้ป่วยมีประวัติดื่มสุรา ทุกวัน ๆ ละ 1 ขวด

  14. การสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอเมืองการสอบสวนเบื้องต้นโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอเมือง ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน - วันที่ 14 ก.พ.55 รักษาที่ รพ.เลยด้วยอาการตาลืมไม่ขึ้น เป็นมา 1 สัปดาห์ มี weak ที่ใบหน้าซีกขวา แพทย์วินิจฉัย Facial palsy ได้ยาไปกินที่บ้าน - วันที่ 18 ก.พ.55 มีอาการอ้าปากไม่สุด กินไม่ได้ ปวดเกร็งกล้ามเนื้อหลัง มีไข้ T = 37.9 oC P = 86 R = 20 BP = 183/100 mmHg. แพทย์วินิจฉัย Trismus R/O Tetanus ให้ Admit ตึก อช.2 แรกรับผู้ป่วยรู้สึกตัว พอรู้เรื่อง สับสนบางครั้ง หายใจ on o2 carnular 3 LPM แพทย์สั่งฉีด TT. 0.5 ml. muscle stat ,TAT 10,000 U vain stat ผู้ป่วยรักษาที่ตึก อช.2จนถึงวันที่ 25 ก.พ.55 เสียชีวิตในเวลา 11.10 น.

  15. รายงานเบื้องต้นผู้ป่วยโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอผาขาวรายงานเบื้องต้นผู้ป่วยโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอผาขาว • วันที่ 29 ก.พ.55 เวลา 09.20 น. เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา รพ.ผาขาว แจ้งว่ามีผู้ป่วย R/O Tetanus จำนวน 1 ราย เพศชาย อายุ 81 ปี อยู่บ้านเลขที่ 173 ม.2 บ้านโนนภูทอง ต.ท่าช้างคล้อง อ.ผาขาว refer รพ.เลยตั้งแต่วันที่ 10 ก.พ.55 และญาติกลับไปติดต่อ รพ.ผาขาวในวันที่ 27 ก.พ.55 เพื่อออกใบรับรองการตาย(ญาติขอนำผู้ป่วยกลับบ้าน เสียชีวิตวันที่ 23 ก.พ.55 เวลา 11.30 น.

  16. รายงานเบื้องต้นผู้ป่วยโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอผาขาวรายงานเบื้องต้นผู้ป่วยโรคบาดทะยักเสียชีวิตอำเภอผาขาว • การตรวจสอบข้อมูลกับ รพ.เลย ทราบว่าผู้ป่วยมารับการรักษาที่ รพ.เลยในวันที่ 10 ก.พ.55 ด้วยอาการขากรรไกรค้าง คอแข็ง • แพทย์วินิจฉัย R/O Tetanus สั่ง Admit ICU จนถึงวันที่ 23 ก.พ.55 ญาติขอนำผู้ป่วยกลับบ้าน • มีประวัติ 5 วันก่อน ปั่นจักรยานล้ม มีแผลที่นิ้วกลางมือขวา บวม

  17. ผลการติดตามดูแลผู้ป่วย XDR-TB ผู้ป่วย XDR-TB เพศหญิง อายุ 36 ปี ต.ห้วยส้ม อ.ภูกระดึง 16 พย. 54 เริ่มสูตรยาจากสำนักวัณโรค ก่อนเริ่มยา ผลเสมหะ 2+ สูตรยา 6 Cm.Lnx.Lz.PAS/18 Lxn.lz.PAS ยาฉีด 6 เดือนแรก Capreomycin 500 mg. IM จันทร์ พุธ ศุกร์

  18. ยากินตลอดการรักษา 2 ปี 1.Levolfloxacin 750 mg. 1 เม็ด ก่อนนอน 2.Linezolid 600 mg. 1 เม็ด ก่อนนอน ผลเสมหะ วันที่ ผล 16 ธค.54 1+ 23-24 มค.55 ลบ

  19. สรุปและวิเคราะห์ข่าวด้านโรคและภัยสุขภาพสรุปและวิเคราะห์ข่าวด้านโรคและภัยสุขภาพ สื่อ 24 กพ.55 WHO (สื่อออนไลน์) ประเด็นข่าว ไข้หวัดนก อียิปต์ กระทรวงสุขภาพและ ประชากร รายงานผู้ป่วยใหม่ 1 ราย อายุ 1 ปี เพศหญิง ป่วย 14 กพ.55 รักษาที่ รพ. 15 กพ.55 ได้ยา oseltamivir อาการดีขึ้น ผลการสอบสวน มีการเลี้ยงไก่บริเวณที่อยู่อาศัย ของผู้ป่วย ยืนยันตรวจพบเชื้อ H5N1 และเป็น ผู้ป่วยรายที่ 160 ของประเทศ ในจำนวนนี้ เสียชีวิต 55 ราย วิเคราะห์ผลกระทบ (-) หมายเหตุ (+) คือ ผลกระทบเชิงบวก (-) คือ ผลกระทบเชิงลบ

  20. 26 กพ.55ProMed mail (สื่อออนไลน์) ประเด็นข่าว ไข้หวัดนกในคน ประทศเวียตนาม พบผู้ป่วย ยืนยันไข้หวัดนก 1 ราย อายุ 22 ปี ประวัติ การเดินทางกลับบ้านช่วงปีใหม่เดือน มค.55และ กลับไปทำงานต่อ เริ่มป่วย 17 กพ.55 ไข้สูง หายใจลำบาก ถูกนำส่ง รพ.พื้นที่ 23 กพ. อาการหนักส่งรักษาที่ รพ.โฮจิมินท์ ผลการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการพบติดเชื้อ H5N1 ยังไม่ ทราบรับเชื้อจากที่ใด การควบคุมโรค มีการกัก กันผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่อาศัยอยู่บ้านเช่า มีการทำลายเชื้อโดยน้ำยา วิเคราะห์ผลกระทบ (-) ข่าวแจ้ง เวียตนามพบผู้ป่วยยืนยัน ไข้หวัดนก 1 ราย จากตรวจสอบเว็บไซด์ WHO ยังไม่มี รายงาน

  21. 27 กพ.55 มติชน ประเด็นข่าว เด็กบาหลีติดหวัดนกตาย เจ้าหน้าที่อินโดนีเซีย เมื่อ 25 กพ.55 พบเด็กชายวัย 12 ปี เสียชีวิต เนื่องจากติดเชื้อไข้หวัดนก บนเกาะบาหลี ผู้เสีย ชีวิตมีอาการไข้สูงและหายใจติดขัดนานนับสัปดาห์ เสียชีวิต 21 กพ.55 ผลการตรวจพบติดเชื้อไวรัส H5N1 แต่ไม่พบว่ามีการสัมผัสสัตว์ปีกโดยตรง ตั้งแต่ปี 2548 มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากไข้หวัดนก ในอินโดนีเซีย 154 ราย วิเคราะห์ผลกระทบ (-) ข่าวแจ้ง อินโดนีเซีย พบผู้เสียชีวิต ยืนยันไข้หวัดนก จากการตรวจสอบเว็บไซด์ WHO ยังไม่มี รายงาน

  22. 27 กพ.55 นสพ. ASTV ผู้จัดการ ประเด็นข่าว หมอกควันภาคเหนือวิกฤติ กรมควบคุมมลพิษ ให้ข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศเช้าวันที่ 26 กพ.55 พบว่าทุกจังหวัดในภาคเหนือมีค่าตรวจวัดฝุ่นละอองขนาด เล็กเกินค่ามาตรฐาน จากการตรวจหาจุดเผาไหม้วันที่ 25 กพ.55 ลดลงเหลือ 980 จุด จากประมาณ 2000 จุด ในภูมิภาคอินโดจีน คาดอีกประมาณ 2 วัน (29 กพ.55) สถานการณ์ฝุ่นละอองในพื้นที่ภาคเหนือจะดีขึ้น เตือนเด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย 4 กลุ่มโรคที่มีโอกาสป่วยได้สูง ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและ หลอดเลือด โรคทางเดินหายใจทุกชนิด โรคหอบหืด/ถุงลม โป่งพอง และกลุ่มโรคตาอักเสบ หลีกเลี่ยงการออกกำลังกาย ช่วงเช้าที่มีปัญหาหมอกควันหนาแน่นและใส่หน้ากากอนามัย ป้องกันฝุ่นละออง ขอความร่วมมือประชาชนงดเผาขยะ เศษ วัสดุการเกษตร และกิ่งไม้ใบหญ้า

  23. วิเคราะห์ผลกระทบ (-) ข่าวแจ้งสภาพอากาศทุกจังหวัดใน ภาคเหนือมีค่าตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินกว่าค่า มาตรฐาน

  24. 27 กพ.55 มติชน ประเด็นข่าว แดดเปรี้ยงระวัง “ฮีตสโตรก” อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส ช็อกถึงตาย กรมควบคุมโรค กล่าวถึง อากาศที่ร้อนมากช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ต้องระวัง 4 โรคจากแดด ได้แก่ โรคลมแดด (Heat Stroke) โรค เพลียแดด (Heat Exhaustion) โรคตะคริวแดด (Heat Cramps) และผิวหนังไหม้แดด (Sunburn) ซึ่งเกิดจาก การได้รับความร้อนมากจนเกินไปและเกิดภาวะขาดน้ำ นพ.ภาสกร อัครเสวี ผอก.สำนักระบาดวิทยา กล่าวว่า ปีนี้ไม่พบผู้ป่วยโรคลมแดด ปี 54 มีการแจ้งผู้ป่วย เข้าข่าย8 ราย ผลการวินิจฉัยพบ 2 ราย ไม่พบผู้เสีย ชีวิต

  25. วิเคราะห์ผลกระทบ (+/-) ข่าวแจ้งเตือนระวัง 4 โรค จากแดด ได้แก่ โรคลมแดด โรคเพลียแดด โรคตะคริวแดด และผิวหนังไหม้แดด

  26. การรณรงค์ป้องกัน กำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 30 เมษายน 2555 เป็นช่วงรณรงค์ป้องกันกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ประชาสัมพันธ์ให้นำสัตว์เลี้ยง สุนัข แมว ไปฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ตามจุด ที่ท้องถิ่นจัดเตรียมไว้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

More Related