1 / 65

หลักสูตร การวางแผนและ การบริหารการผลิต

หลักสูตร การวางแผนและ การบริหารการผลิต. แผนการผลิต ประกอบด้วย. กระบวนการผลิต/บริการ ต้องแสดงให้เห็นขั้นตอนในการผลิตสินค้า ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องจักร ระดับคุณภาพที่ต้องการ ที่ตั้งและการวางผังโรงงาน. การเลือกที่ตั้งโรงงาน.

tamma
Download Presentation

หลักสูตร การวางแผนและ การบริหารการผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตร การวางแผนและ การบริหารการผลิต

  2. แผนการผลิต ประกอบด้วย • กระบวนการผลิต/บริการ ต้องแสดงให้เห็นขั้นตอนในการผลิตสินค้า ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี เครื่องมือ เครื่องจักร ระดับคุณภาพที่ต้องการ • ที่ตั้งและการวางผังโรงงาน

  3. การเลือกที่ตั้งโรงงานการเลือกที่ตั้งโรงงาน ปัจจัยที่มีผล แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ปัจจัยที่เกี่ยวกับทรัพยากรการผลิต ได้แก่ วัตถุดิบ ตลาด แรงงาน ที่ดิน การขนส่ง พลังงานและสาธารณูปโภค 2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม

  4. การวางผังโรงงาน ควรพิจารณา • กำลังการผลิต • กระบวนการผลิต • ระบบจัดส่งวัตถุดิบ-ระหว่างกระบวนการ-ระบบจัดส่งให้กับลูกค้า • จำนวนพนักงาน • คลังสินค้า • ขนาดและจำนวนของเครื่องจักรอุปกรณ์

  5. โรงอาหารโรงช้าง ร้าน 7-11 ตึกกิจกรรม น.ศ. ลานจอดรถ ATM ถนน ที่มา : แผนธุรกิจ Fresh Milk ของ สถิตย์พงศ์ รัตนคำและอุทัย นุชสงดี

  6. ค า เ ตอร์ บาร์ ตู้เก็บของ ที่มา : แผนธุรกิจ Fresh Milk ของ สถิตย์พงศ์ รัตนคำและอุทัย นุชสงดี

  7. รายการทรัพย์สินถาวรในโรงงานรายการทรัพย์สินถาวรในโรงงาน • แหล่งเครื่องจักรอุปกรณ์ • ระยะเวลาและเงื่อนไขการชำระเงิน • อายุการใช้งาน • การซ่อมแซมและบำรุงรักษา

  8. การคำนวณต้นทุนการผลิตการคำนวณต้นทุนการผลิต • ต้นทุนผันแปร ค่าแรงทางตรง, วัตถุดิบทางตรง, ค่าใช้จ่ายผันแปร • ต้นทุนคงที่ ค่าแรงทางอ้อม, วัตถุดิบทางอ้อม, ค่าใช้จ่ายคงที่อื่นๆ

  9. สรุปต้นทุนสินค้าต่อหน่วยสรุปต้นทุนสินค้าต่อหน่วย • ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย • ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย • ต้นทุนรวมต่อหน่วย

  10. ปัจจัยนำเข้า สินค้า/บริการ กระบวนการแปรรูป การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม การผลิตคืออะไร??? การผลิตคือ กระบวนการในการแปรรูปวัสดุหรือชิ้นส่วน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ตามที่ผู้บริโภคต้องการ เครื่องจักรเทคโนโลยี เทคนิค ผลผลิต แรงงาน เงินทุน วัตถุดิบ • ปั่นด้าย • ย้อมสี • ทอผ้า • ตัดเย็บ • เส้นใยสีต่าง ๆ • ผ้าผืน • เสื้อผ้า/เครื่องใช้ • ฯลฯ • รังไหม • เม็ดฝ้าย • เปลือกไม้ • ผลไม้ • เชื้อเพลิง • น้ำ

  11. มีทัศนะคติที่ดี ต่อ สินค้าหรือบริการ บริษัท และ อาชีพ กระตือรือร้น อดทน ขยัน และสามารถจุดประกายความกระตือรือร้นได้ทุกครั้งที่พบปะลูกค้า มีศิลปะในการพูด ไม่ใช่พูดเก่ง แต่พูดเป็น ถูกกาลเทศะ พูดถูกต้องตรงไปตรงมา มีบุคลิกดี สนุกสนาน สามารถพูดคุยได้กับบุคคลทุกอาชีพ มีการพัฒนาตนเองต่อเนื่อง และมีความรอบรู้พอสมควร รู้จักวางแผน แบ่งเวลาได้อย่างเหมาะสม คุณลักษณะของผู้ให้บริการที่ดี การบริการ การบริการคือ การสร้างบรรยากาศที่ทำให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ๆ

  12. การบริหารการผลิตและบริการการบริหารการผลิตและบริการ สนองความต้องการของผู้บริโภค รูปแบบ ดีไซน์ของผลิตภัณฑ์ คุณภาพดี ทนทาน ราคาเหมาะสม ตรงตามเวลาที่ต้องการ การวางแผน/ควบคุม การทำงานอย่างเป็นระบบ

  13. การบริหารการผลิตและการบริการการบริหารการผลิตและการบริการ การกำกับ และควบคุม กระบวนการ ทำงานอย่างมี ประสิทธิภาพ

  14. การวางแผนงาน • การวางแผนการผลิต • การวางแผนวัตถุดิบ • การวางแผนคุณภาพ

  15. ประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้นประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น การใช้งานเครื่องจักรเพิ่มขึ้น สินค้า บริการมีคุณภาพดีขึ้น ระบบ การบริหาร ที่ดี วัตถุดิบ /สินค้า คงค้างลดลง ต้นทุนลดลง /กำไรเพิ่มขึ้น การส่งมอบสินค้าตรงเวลา ใช้ประโยชน์ในเงินลงทุนได้เต็มที่ ประโยชน์ของการบริหาร

  16. ฝ่ายวางแผนการผลิต ลูกค้า ระบบการวางแผนการผลิต การวางแผนการผลิตระยะยาว ฝ่ายขาย/การตลาด ผู้ขายวัตถุดิบ การวางแผนการผลิตรวม จัดซื้อ/จัดหาวัตถุดิบ ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ตารางการผลิตหลัก วางแผนการใช้วัตถุดิบ การจัดตารางการผลิต แผนคุณภาพ /มาตรฐานคุณภาพ การวางแผนกำลังการผลิต คลังวัตถุดิบ ใบสั่งผลิตสินค้า/บริการ คลังสินค้า กระบวนการผลิต การควบคุมการทำงาน การควบคุมคุณภาพ การไหลของข้อมูลข่าวสาร และหน้าที่งานในกระบวนการวางแผน การไหลของวัตถุดิบ/วัสดุ และผลิตภัณฑ์ กระบวน การ วางแผน

  17. การวางผังโรงงาน - ทำไมต้องวางผัง ? • ประสิทธิภาพการดำเนินงาน • ความปลอดภัย สภาพแวดล้อมของการทำงาน • การเปลี่ยนแปลงรูปแบบสินค้า(บริการ) • การผลิตสินค้า(บริการ)ชนิดใหม่ • ความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณและส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ • ความยืดหยุ่นของกระบวนการ เครื่องมือ อุปกรณ์ • กฎหมายและ พรบ.สิ่งแวดล้อม

  18. โรงงานที่มีการวางผังที่ดี จะมีต้นทุนการผลิตต่ำ เพราะ... • ใช้ทรัพยากรเท่าที่จำเป็น • ใช้สอยเนื้อที่เต็มประสิทธิภาพ • ควบคุมการผลิตง่าย ความผิดพลาดน้อย ชิ้นงานบกพร่องน้อย • ปลอดภัยมากขึ้น สุขภาพกายและจิตพนักงานดี • คุณภาพสินค้าดี ลูกค้าเชื่อถือ • การเคลื่อนย้ายวัสดุไม่สับสน มีระยะทางสั้น

  19. การออกแบบผังภายใน • วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์, กระบวนการผลิต • คำนวณหาจำนวนเครื่องจักร อุปกรณ์ • เลือกวิธีและอุปกรณ์การเคลื่อนย้ายวัสดุ • จัดวิถีการเคลื่อนที่จากวัตถุดิบจนเป็นสินค้าสำเร็จรูป • จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ปลอดภัย • วิเคราะห์หาขนาดคลังสินค้า

  20. รูปแบบการวางผังโรงงานรูปแบบการวางผังโรงงาน การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout) การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) การวางผังแบบเซล (Cellular Layout)

  21. การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) • เครื่องจักร/อุปกรณ์ 1 เครื่อง • คน 1 เครื่อง 1 • คน 1 หรือ มากกว่า • กลุ่มคน + กลุ่มเครื่อง สถานีงาน

  22. ข้อได้เปรียบของ Product layout • อัตราการผลิตสูงกว่าการวางผังแบบอื่น • ต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตต่ำ • ฝึกคนงานได้เร็วและสิ้นเปลืองงบน้อย • ต้นทุนในการเคลื่อนย้าย (Handling cost) ต่ำ • ประสิทธิภาพแรงงานและเครื่องจักรสูง • วิถี(route)และขั้นตอนการผลิตแน่นอน • Setup time ต่อหน่วยต่ำ • ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังไม่ค่อยซับซ้อน

  23. ข้อเสียเปรียบของ Product layout • คนงานเบื่อ ขาดความภูมิใจ ลาออก ขาดงาน • การลงทุนเริ่มต้น (Capital cost) สูง • ไม่ยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิต รูปแบบสินค้า กระบวนการ • ไวต่อการหยุดผลิต มีผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตมาก

  24. Process Layout (Job shop) เหมาะสมกับกิจการที่.. ผลิตสินค้ามากแบบ แบบสินค้ามีหลากหลาย แต่ละรุ่นของการผลิตจะผลิตไม่มาก พนักงานควรเป็นช่างฝีมือ มีพนักงานที่เชี่ยวชาญการวางแผนและควบคุมการผลิต

  25. ตัวอย่างกิจการที่วางผังแบบ process layout • อู่ซ่อมรถยนต์ • ซูเปอร์มาร์เก็ต, ห้างสรรพสินค้า • โรงพยาบาล • มหาวิทยาลัย • โรงกลึง • โรงงานผลิตเครื่องปรับอากาศ • ฯลฯ

  26. ข้อได้เปรียบของ Process Layout • สามารถผลิตด้วยกระบวนการที่แตกต่างกัน • เมื่อเครื่องจักรเสียบางเครื่องจะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบ • เครื่องมือ อุปกรณ์มักใช้ร่วมกันได้ • พนักงานมีความพึงพอใจในงาน ( การขาดงาน ลาออก มีน้อย)

  27. ข้อเสียเปรียบของ Process Layout • หน่วยผลิตต่างๆ อาจมีอัตราการผลิตไม่เท่ากัน • ทำให้เกิด work-in-process และรอการผลิต • หัวหน้างานควบคุมงานยากกว่า เพราะวิถีการผลิตไม่แน่นอน • ต้องควบคุมการผลิตสินค้าให้ลูกค้าแต่ละรายหรือแต่ละรุ่น • ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสูงเพราะแต่ละรุ่นผลิตไม่มาก ทำให้ setup time ต่อหน่วยสูง • อาจขาดแคลนช่างฝีมือ ต้องการสวัสดิการมาก • ระบบบัญชี จัดซื้อ พัสดุคงคลังมักยุ่งยากกว่า

  28. ตัวอย่างการวางผังแบบ process layout ในโรงงานแห่งหนึ่ง เครื่องเจียระไน เครื่องกัด เครื่องเจาะ เครื่องกลึง ออก เข้า

  29. การวางผังแบบคงตำแหน่ง (Fixed-Position Layout) เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ บริเวณที่ผลิตสินค้า หรือบริการ วัสดุ ส่วนประกอบ, ชิ้นส่วน แรงงาน อื่น ๆ

  30. ตัวอย่างกิจการหรือสถานที่ที่วางผังแบบตัวอย่างกิจการหรือสถานที่ที่วางผังแบบ fixed-position layout • โรงงานผลิตสิ่งของขนาดใหญ่ (เครื่องบิน, เรือ,กระสวยอวกาศ รถไฟ ฯลฯ) • การก่อสร้างอาคาร บ้านเรือน • เวทีจัดการแสดง การเรียนการสอนในห้องเรียน

  31. การวางผังแบบเซล (Cellular Layout) เจาะ เจียระไน กัด กลึง เข้า ออก

  32. ข้อได้เปรียบของ cellular เมื่อเทียบกับ process • งานระหว่างทำน้อยกว่า • วิถีการผลิตสั้นกว่า และไม่สับสน • การเตรียมการผลิตเกิดขึ้นน้อยกว่า ใช้เวลาน้อยกว่า

  33. การบริหารพัสดุคงคลัง • พัสดุคงคลังประกอบด้วย : • วัตถุดิบ (Raw Material) คือสิ่งของ ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบ • สินค้า ซึ่งซื้อมาเพื่อใช้ในการผลิต • งานระหว่างทำ (Work-in-Process) คือชิ้นงานที่อยู่ในขั้นตอนการ • ผลิต หรือเก็บในคลังพัสดุ เพื่อรอคอยที่จะผลิตในขั้นตอนต่อไป • วัสดุซ่อมบำรุง คือชิ้นส่วนหรืออะไหล่เครื่องจักรที่สำรองไว้ • เผื่อเปลี่ยนชิ้นส่วนเดิมเสีย หรือหมดอายุการใช้งาน • สินค้าสำเร็จรูป คือ ชิ้นงานที่ผ่านกระบวนการผลิตครบถ้วน • พร้อมที่จะนำไปจำหน่ายให้กับลูกค้าได้

  34. การบริหารพัสดุคงคลัง • จุดมุ่งหมาย : • การลงทุนในพัสดุคงคลังต้องต่ำที่สุด • ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนการผลิตต่ำลงด้วย • การบริการลูกค้าในปริมาณที่เพียงพอ • และทันต่อ ความต้องการของลูกค้าเสมอ • เพื่อรักษาระดับของยอดขาย หรือส่วนแบ่งตลาดไว้

  35. การบริหารพัสดุคงคลัง ระบบ A B C กลุ่ม A : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณน้อย ประมาณ 5- 15% มีมูลค่ารวมกันค่อนข้างสูง คิดเป็น 70-80% ของ มูลค่าทั้งหมด กลุ่ม B : เป็นของคงคลังปริมาณปานกลาง ประมาณ 30 % มูลค่ารวมประมาณ 15% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม C : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณสูง ประมาณ 50-60 % มูลค่ารวมประมาณ 5-10% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม A : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณน้อย ประมาณ 5- 15% มีมูลค่ารวมกันค่อนข้างสูง คิดเป็น 70-80% ของ มูลค่าทั้งหมด กลุ่ม B : เป็นของคงคลังปริมาณปานกลาง ประมาณ 30 % มูลค่ารวมประมาณ 15% ของมูลค่าทั้งหมด กลุ่ม C : เป็นของคงคลังที่มีปริมาณสูง ประมาณ 50-60 % มูลค่ารวมประมาณ 5-10% ของมูลค่าทั้งหมด

  36. การบริหารพัสดุคงคลัง ระบบ A B C A ควบคุมอย่างเข้มงวดมาก B การควบคุมเข้มงวดปานกลาง C มีการจดบันทึก หรือลงบัญชีบ้าง

  37. การบริหารคุณภาพ คุณภาพ หมายถึง คุณลักษณะของสินค้า หรือ บริการที่สามารถ ตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้และก่อให้เกิด ความพึงพอใจ ณ ช่วงเวลาหนึ่ง

  38. คุณภาพชนิดที่พึงต้องมีคุณภาพชนิดที่พึงต้องมี (Must be Quality) ข้อกำหนดของลูกค้า (Customer requirements) ความคาดหวังของลูกค้า (Customer Expectations)

  39. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กิจกรรม/วิธีการในการตรวจสอบ และกำกับดูแล กระบวนการผลิต การทำงานภายในองค์กรให้เป็นไปตามมาตรฐาน

  40. ลูกค้า มุมมองของคุณภาพ • สินค้าหรือบริการที่สามารถใช้งานได้ดีตามรายละเอียดที่แจ้งไว้ • หรือตามคำชี้ชวน คำอธิบายของผู้ขาย • มีความคุ้มค่ากับเงินหรือราคาที่ลูกค้าจ่ายเพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการ • สินค้าหรือบริการเหมาะสมกับงาน หรือวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ซึ่งต้องมี • ความปลอดภัย และรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย • สินค้าหรือบริการ มีความสะดวกในการใช้ สามารถรักษาสภาพความ • สมบูรณ์ไว้ได้ตลอดอายุการใช้งาน • สินค้าและบริการเหล่านั้น สร้างความภาคภูมิใจ และประทับใจ

  41. มุมมองของคุณภาพ ผู้ผลิต • การผลิตและการให้บริการ ต้องถูกต้องตั้งแต่แรก • ระดับของเสีย หรือความผิดพลาดต้องอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และมี • เป้าหมายเป็น ศูนย์ หมายถึงไม่มีของเสีย หรือไม่มีความผิดพลาด • ใน การทำงานเลย • กระบวนการทำงานต้องถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ • การผลิต และการทำงานใดๆ ต้องมีต้นทุนเหมาะสม ในขณะที่ลูกค้า • ได้รับความพึงพอใจในสินค้าและบริการ ในระดับราคาที่เหมาะสม

  42. แผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมให้การผลิตอยู่ในระดับคุณภาพที่ต้องการแผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมให้การผลิตอยู่ในระดับคุณภาพที่ต้องการ สินค้าสำเร็จรูป กระบวนการผลิต วัตถุดิบ แผนชักตัวอย่างก่อนนำวัตถุดิบเข้าสู่การผลิต แผนชักตัวอย่างก่อนส่งสินค้าให้กับลูกค้า

  43. การทดสอบและการตรวจสอบคุณภาพ(Testing for quality control and inspection) 1. วิธีการตรวจสอบทุกชิ้น (Screening inspection) 2. วิธีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละรุ่น (Lot by lot inspection or sampling) 3. วิธีการตรวจสอบตามกระบวนการผลิต (Process inspection)

  44. วิธีการตรวจสอบทุกชิ้นวิธีการตรวจสอบทุกชิ้น • 100% inspection • ง่ายและใช้กันทั่วไป • แต่มักเกิดความล้า ความเบื่อหน่าย • ความตั้งใจของพนักงานน้อยลง • เปลืองเงิน เปลืองเวลา • สินค้าบางอย่างไม่สามารถทำได้

  45. วิธีการสุ่มตัวอย่างจากแต่ละรุ่น • หลีกเลี่ยงการตรวจสอบ 100% ผ่านเกณฑ์ สินค้า 1000 ชิ้น ตรวจสอบ ส่งให้ลูกค้า ไม่ผ่านเกณฑ์ สุ่มตัวอย่าง 20 ชิ้น ปฏิเสธทั้งรุ่น

  46. ปัญหายอดนิยม ในการผลิต ปัญหา จากการวางแผน และการควบคุม ที่ไม่ดีพอ • วัตถุดิบมาล่าช้า/คุณภาพไม่ดี • ไม่ทราบความคืบหน้าการผลิต • ไม่มีเวลาเผื่อในการผลิต • พนักงานขาดงานบ่อย • สินค้าคุณภาพไม่สม่ำเสมอ • ของเสียจำนวนมาก • การแทรกงาน/งานเร่งด่วน • ไม่มีผู้รับผิดชอบจริงจัง • เครื่องจักรมีปัญหา ประสิทธิภาพต่ำ ต้นทุนสูง ส่งของไม่ทันความต้องการ

  47. เพิ่มประสิทธิภาพ ด้วยการเพิ่มผลผลิต ความหมายของการเพิ่มผลผลิต 1. ความหมายทางเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติในการปรับปรุงงาน อย่างต่อเนื่องโดยมีแนวคิดที่ว่า “ทำวันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวานและพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้” 2. ความหมายทางวิทยาศาสตร์ มุ่งเน้น ที่จะให้การทำงานมีประสิทธิผลสูงสุดโดย การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า การเพิ่มผลผลิต = ผลิตผล (Outputs) ปัจจัยการผลิต (Inputs)

  48. การศึกษาการทำงาน • การลดสัดส่วนของงาน • ทำให้งานธรรมดาขึ้น • พัฒนาวิธีการที่ประหยัดกว่า การศึกษาวิธีการทำงาน (method study) • การลดเวลาไร้ประสิทธิภาพ • กำหนดเวลาการทำงาน การวัดผลงาน (work measurement) ผลผลิตที่สูงขึ้น

  49. ช่องทางการลดเวลาการผลิตด้วยการศึกษาการทำงานช่องทางการลดเวลาการผลิตด้วยการศึกษาการทำงาน 1 เป้าหมายของการศึกษาการทำงาน 1. ส่วนของงานน้อยสุด 2. ส่วนของงานถูกเพิ่มโดยข้อบกพร่องของงานออกแบบหรือข้อจำเพาะของผลิตภัณฑ์ อันประกอบด้วย ข้อจำเพาะของวัตถุดิบ ระยะเผื่อ และ ข้อจำเพาะสินค้า 2 ส่วนของงานทั้งหมด เวลาการทำงานทั้งหมด ภายใต้สภาพปัจจุบันหรืออนาคตเมื่อการศึกษาการทำงานไม่ได้ผล 3 3. ส่วนของงานถูกเพิ่มโดยวิธีการผลิต หรือการดำเนินงานที่ไร้ประสิทธิภาพ อันประกอบด้วย กรรมวิธีการผลิต การเตรียมงาน สภาพแวดล้อม การวางผัง และการเคลื่อนที่ ช่องทางในการลดเวลาการผลิตด้วยการศึกษาการทำงาน 4 4. เวลาเพิ่มขึ้นเนื่องจากข้อบกพร่องด้านการจัดการ ได้แก่ การวางแผนไม่ดี ระบบควบคุมพัสดุคงคลังไม่ดี การจัดกำหนดการไม่ดี การกำกับดูแลและการฝึกอบรมไม่เพียงพอ เวลาไร้ประสิทธิภาพทั้งหมด 5 5. เวลาเพิ่มขึ้นเนื่องจากข้อบกพร่องของคนงาน ได้แก่ สภาพการทำงานที่ต่ำกว่าปกติ การเผื่อเวลาพูดคุยมากเกินไป และการฝึกอบรมไม่เพียงพอ

  50. ารวิเคราะห์วิธีการทำงาน • เป็นการวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แยกแยะปัญหาให้ชัดเจน เพื่อหาวิธีการทำงานที่ดีกว่า โดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม (6W-1H)

More Related