1 / 18

Flow through Venturi Section 9 : Kulatuch Suwattanapunkul 5030031821 Prapan Boonnop 5030296821

Flow through Venturi Section 9 : Kulatuch Suwattanapunkul 5030031821 Prapan Boonnop 5030296821 Therdtham Anuntasate 5030194421 Chanvut Siribunjongchoke 5030100421. Objective : 1.To investigate the relation between flow rate and pressure difference in flow through a venturi

tamah
Download Presentation

Flow through Venturi Section 9 : Kulatuch Suwattanapunkul 5030031821 Prapan Boonnop 5030296821

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Flow through Venturi • Section 9 : • Kulatuch Suwattanapunkul 5030031821 • Prapan Boonnop 5030296821 • Therdtham Anuntasate 5030194421 • Chanvut Siribunjongchoke 5030100421

  2. Objective : 1.To investigate the relation between flow rate and pressure difference in flow through a venturi 2.To obtain the discharge coefficient(Cd) for improving the theoretical formula

  3. Theory : Assumption: 1.Fluid is incompressible 2.Flow along stream line 3.Steady state 4.Uniform velocity profile 5.Venturi aligns on horizontal 6.No body force 7.Frictionless

  4. Apparatus :

  5. Procedure : - SSST 1. ตรวจสอบเครื่องมือต่างๆ ให้พร้อมสำหรับการทดลองก่อนโดยชุดทดลองให้ไล่ ฟองอากาศใน multitube manometer ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนเริ่มทดลอง 2. ปรับ pump เพื่อหาค่า delta minimum และ maximum head เพื่อนำมา vary ค่าว่าจะวัดที่ dH เท่าไหร่ 3. หา Volumetric flow rate โดยปิดvalve ให้น้ำเริ่มไหลมาและจับเวลา กำหนดปริมาตรควบคุมไว้ที่ 5 ลิตร จากสูตร 4.หาค่า Total uncertainty ของ Qa จาก โดยค่า และ คือค่า Bias uncertainty ของ manometer 5.นำ Qa เปรียบเทียบกับ Qt

  6. - MSST 1. ตรวจสอบเครื่องมือต่างๆ ให้พร้อมสำหรับการทดลองก่อนโดยชุดทดลองให้ไล่ ฟองอากาศใน multitube manometer ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนเริ่มทดลอง 2. ปรับ pump เพื่อหาค่า delta minimum และ maximum head เพื่อนำมา vary ค่าว่าจะวัดที่ dH เท่าไหร่ 3. หา Volumetric flow rate โดยปิดvalve ให้น้ำเริ่มไหลมาและจับเวลา กำหนดปริมาตรควบคุมไว้ที่ 5 ลิตร จากสูตร (ต้องใช้ t เฉลี่ย) 4. หาค่า Qa เหมือนเดิม เพียงแต่ค่า DH ค่านึงจะใช้หาค่า Qa หลายค่าตามต้องการ แล้วนำมาห่าค่าเฉลี่ยของ Qa ในแต่ละ DH 5. หาค่า Total uncertainty จาก โดย t= average time และ Pt= Precision ของ time โดยหา Pt ได้จาก 6.นำ Qa เปรียบเทียบกับ Qt

  7. Result : - SSST ความชันของกราฟ Qt และ Qac แตกต่างกันเล็กน้อย โดย Qac มีความชันสูงกว่า ทำให้ได้ค่า Cd = 1.088683

  8. - MSST ความชันของกราฟ Qt และ Qac แตกต่างกันเล็กน้อย โดย Qac มีความชันสูงกว่า ทำให้ได้ค่า Cd = 9.99E-01

  9. Discussion : จาก Result ที่ได้จากการทดลองแบบ Single sample single test พบว่า และจากการทดลองแบบ Multiple sample single test จะได้ Result ว่า เมื่อพิจารณาถึงจุดตัดแกน y แล้วจะได้ว่า Qtมีจุดตัดแกน y = 0 และ จุดตัดแกน y ของ Qaใน SSST และ MSST จะได้จุดตัดแกน y เป็น และ ตามลำดับ พิจารณาสมการ governing equation ใหม่ โดยตัด assumption ที่ว่า uniform velocity profile และ frictionless flow ออกไป ทำให้เราได้สมการใช้งานใหม่ ซึ่งก็คือ

  10. หรือ โดยเมื่อเรานำสมการใช้งานมาพิจารณาจะได้ว่า ค่าความชันที่ไม่เป็นไปตามทฤษฎี ในตอนแรกอาจมีผลมาจากที่การ flow ของเราไม่เป็นแบบ uniform velocity profile ทำให้ค่า a1 และ a2 ไม่เป็น 1 ทำให้ความชันไม่เป็นไปตามทฤษฎีที่เราตั้ง assumption ว่า uniform velocity profile และ ค่าจุดตัดแกน y นั้นอาจมีผลมาจาก DHloss

  11. Conclusion : 1. ค่า CD ของการทดลองแบบ Single Test Single Sample คือ 1.088683 และค่า CD ที่ได้จากการทดลองแบบ Multiple Sample Single Test คือ 0.99 2.ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลและ ในท่อ venturi มีแนวโน้มว่าจะเป็นสมการเส้นตรง ซึ่งไม่ได้ตัดที่จุด (0 , 0) ซึ่งการที่จุดตัดแกน y ไม่ใช่ ( 0 , 0 ) นั้นอาจเป็นผลมาจาก ดังที่ได้กล่าวไว้ในส่วน Discussion

  12. Appendix : • ตารางที่ 1 : ตารางแสดงผลการทดลองที่ 1 • (รูปแบบ Single Sample Single Test)

  13. ตารางที่ 2 : ตารางแสดงผลการทดลองที่ 1 (รูปแบบ Single Sample Single Test)

  14. ตารางที่ 3 : ตารางแสดงผลการทดลองที่ 2 (รูปแบบ Multiple Sample Single Test)

  15. ตารางที่ 4 : ตารางแสดงผลการทดลองที่ 2 (รูปแบบ Multiple Sample Single Test)

  16. Deriving Equations: (1) However, the fluid in this experiment is incompressible, so = constant and (1) become simpler and below (2) The next equation is Bernoulli’s equation which is originally shown as in (3) (3) Again the assumption 1 is employed, we thus can rearrange terms in (3) and obtain: (4) Since the venturi aligns on horizon as stated in assumption 3, and (4) will reduce to be: (5)

  17. Substitute (2) into (5), we get: (6) Multiply both sides of (6) with to calculate volumetric flow rate. (7)

  18. Generally, the pressure difference read from manometer is in unit of water height. For convenience, we will rewrite (7) in the form of water height. That is: (8) Where: u = average velocity Q = volumetric flow rate A = cross-sectional area H = water height in manometer g = gravity acceleration = kinetic energy coefficient subscription 1 = inlet section subscription 2 = minimum area section

More Related