1 / 12

ทรัพยากรพลังงานและอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

ทรัพยากรพลังงานและอุตสาหกรรมปิโตรเคมี. เศรษฐกิจไทยยืนหยัดสู้ต่อไปได้ เพราะเรามีความมั่นคงด้านพลังงาน พ.ศ. 2541 ไทยผลิตปิโตรเลียม (ก๊าซ + น้ำมัน) ได้เท่ากับ 40% ของ Demand 76% ของกระแสไฟฟ้าผลิตมาจากแหล่งพลังงาน ภายในประเทศ (ได้แก่ ก๊าซ ถ่านหินลิกไนท์ พลังน้ำ).

taliesin
Download Presentation

ทรัพยากรพลังงานและอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทรัพยากรพลังงานและอุตสาหกรรมปิโตรเคมีทรัพยากรพลังงานและอุตสาหกรรมปิโตรเคมี • เศรษฐกิจไทยยืนหยัดสู้ต่อไปได้เพราะเรามีความมั่นคงด้านพลังงาน • พ.ศ. 2541 ไทยผลิตปิโตรเลียม (ก๊าซ + น้ำมัน)ได้เท่ากับ 40% ของ Demand • 76% ของกระแสไฟฟ้าผลิตมาจากแหล่งพลังงานภายในประเทศ (ได้แก่ ก๊าซ ถ่านหินลิกไนท์ พลังน้ำ)

  2. ก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบช่วยกระตุ้นและสร้างมูลค่าเพิ่มแก่เศรษฐกิจของชาติก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดิบช่วยกระตุ้นและสร้างมูลค่าเพิ่มแก่เศรษฐกิจของชาติ • โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ำมัน อุตสาหกรรมปิโตรเคมี • Eastern Seaboard Development • Southern Seaboard Development • Western Border Development • Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle (IMT – GT)

  3. วิวัฒนาการปิโตรเลียมของไทย (1) • 2514 ประกาศใช้กฎหมายปิโตรเลียม กรมทรัพยากรธรณีกำหนดเขตแปลงสำรวจ เชิญชวนเอกชนขอสัมปทาน • 2517 พบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย • 2521 สัญญาซื้อขายก๊าซฉบับแรก วางท่อก๊าซยาวที่สุดในทะเล อก. ก่อตั้ง ปตท. (อชพ. + อกธ.) • 2524 ยุคโชติช่วงชัชวาล เริ่มผลิตก๊าซเป็นครั้งแรก โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมแห่งแรกที่บางปะกง

  4. วิวัฒนาการปิโตรเลียมของไทย (2) • 2526 ผลิตน้ำมันดิบบนบกจากแหล่งสิริกิติ์ จ. กำแพงเพชร • 2527 โรงแยกก๊าซ LPG โรงแรกเดินเครื่อง ที่มาบตาพุด • 2528 แผนแม่บทพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก • 2529 กำเนิดโครงการปิโตรเคมี (NPC – I) • 2533 เริ่มผลิตก๊าซธรรมชาติในภาคอีสาน จากแหล่งน้ำพอง จ. ขอนแก่น • 2536 ปตท.สผ. นำหุ้นเข้าจำหน่ายใน ตลาดหลักทรัพย์

  5. วิวัฒนาการปิโตรเลียมของไทย (3) • 2538 โรงแยกก๊าซโรงที่สี่ เปิดเดินเครื่องในภาคใต้ ที่ขนอม จ. นครศรีธรรมราช เปิดประตูสู่ Southern Seaboard • 2539 - ท่อก๊าซคู่ขนานในทะเลเส้นที่สองสร้างเสร็จ เพิ่มกำลังส่งเป็น 2000 MMCFD - พบก๊าซธรรมชาติในพื้นที่พัฒนาร่วม ไทย–มาเลเซีย (JDA) • 2541 นำเข้าก๊าซธรรมชาติจากพม่า เชื่อมโยงโครงข่ายท่อก๊าซถึงกันระหว่าง ตะวันออก – ตะวันตกของประเทศไทย

  6. พ.ศ. 2542 (1) • ไทยผลิต - ก๊าซธรรมชาติ 1,800 ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน - น้ำมันดิบ/ก๊าซธรรมชาติเหลว 80,000 บาเรล/วัน • ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม ปีละ 8,516 ล้านบาท • ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ปีละ 5,300 ล้านบาท • ปตท. เป็นรัฐวิสาหกิจชั้นดีเยี่ยม & นำกำไรส่งคืนรัฐ ปีละ 4,986 ล้านบาท

  7. พ.ศ. 2542 (2) • อบต. ในเขตสัมปทานที่ผลิตปิโตรเลียมบนบกได้ส่วนแบ่ง 20% ของค่าภาคหลวง • อบจ. ของจังหวัดที่มีเขตสัมปทานที่ผลิตปิโตรเลียมบนบก ได้ส่วนแบ่ง 30% ของค่าภาคหลวง • ปริมาณสำรองก๊าซของไทยมีพอใช้ ณ ระดับการผลิตปัจจุบัน ไปอีกนานกว่า 37 ปี

  8. ปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติไทยปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติไทย Proved + Probable Reserves(ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต) • แหล่งก๊าซภายในประเทศ 13.30 • แหล่งก๊าซที่มีสัญญานำเข้าจากพม่า 6.49 • แหล่งก๊าซ JDA ไทย – มาเลเซีย 4.77(เฉพาะส่วนครึ่งหนึ่งของไทย) รวม 24.56

  9. ผลิตก๊าซ 1,800 ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน จะใช้ได้นาน 37 ปี ถ้าผลิต 2,400 ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน จะใช้ได้นาน 28 ปี ถ้าผลิต 3,000 ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน จะใช้ได้นาน 22 ปี • แหล่งก๊าซและน้ำมันในอนาคตที่อาจพบเพิ่มเติม : • พื้นที่ 4,100 ตร.กม. ที่กลับมาเป็นของไทยจากการแบ่งเขตทางทะเลไทย - เวียดนาม(ปตท.สผ. เริ่มสำรวจแล้วตั้งแต่ปี 2541) • พื้นที่ไหล่ทวีปทับซ้อนในทะเลระหว่างไทยกับกัมพูชา(ยังไม่ได้เริ่มเจรจาหาข้อยุติ)

  10. ข้อมูล รายได้ของรัฐจากทรัพยากรธรณีอื่น ๆ ที่มิใช่ปิโตรเลียม • ค่าภาคหลวงแร่ทุกชนิด = 810 ล้านบาท/ปี • ค่าธรรมเนียมการใช้ = 700 ล้านบาท/ปีน้ำบาดาล ในเขตควบคุมฯ

  11. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี (1) • เป็น Synergy เกื้อกูลกับการสำรวจและผลิตปิโตรเลียม • ใช้วัตถุดิบมาจากผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติหรือการกลั่นน้ำมัน • สร้างมูลค่าเพิ่ม/ทดแทนการนำเข้า/สร้างรายได้ส่งออก/นำ High Technology มาใช้ • ไทยเป็นหนึ่งในผู้นำกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มีอุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบวงจร ทั้งขั้นต้น/ขั้นกลาง/ขั้นปลาย • เป็นฐานสนับสนุนอุตสาหกรรมพลาสติกและอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ ในประเทศ เช่น บรรจุภัณฑ์ อาหาร วัสดุก่อสร้าง รถยนต์ ชิ้นส่วนไฟฟ้าและอีเลคทรอนิกส์ เครื่องนุ่งห่ม และปุ๋ย

  12. พ.ศ. 2539 มี :มูลค่า Export มูลค่า Import • (42,500 ล้านบาท) (50,000 ล้านบาท) < อุตสาหกรรมปิโตรเคมี (2) • มูลค่าการผลิตและยอดขายรวมของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในไทยมีมากกว่า 115,000 ล้านบาทต่อปี • มีโรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) กว่า 5,000 โรง • มีการจ้างแรงงานทางตรงกว่า 130,000 คน • ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านโครงสร้างภาษีอากรขาเข้าระหว่างวัตถุดิบต้นทางกับผลิตภัณฑ์ปลายทาง • ต้องการแรงงานที่มีทักษะและฝีมือ

More Related