1 / 30

1308208 Management Information System for Administration 2. ประเภทของสารสนเทศ

1308208 Management Information System for Administration 2. ประเภทของสารสนเทศ. Instructor : Dr. Chattrakul Sombattheera Office : IT 302 Email : chattrakul@gmail.com . Faculty of Informatics Mahasarakham University. ประเภทของระบบสารสนเทศ. ระบบสารสนเทศ. ระบบสารสนเทศจำแนก

tait
Download Presentation

1308208 Management Information System for Administration 2. ประเภทของสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1308208 Management Information System for Administration2. ประเภทของสารสนเทศ Instructor : Dr. ChattrakulSombattheera Office : IT 302 Email :chattrakul@gmail.com  Faculty of Informatics Mahasarakham University

  2. ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจำแนก ตามการสนับสนุน ระบบสารสนเทศจำแนก ตามโครงสร้างขององค์กร ปัญญาประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศจำแนก ตามหน้าที่หลักขององค์กร • Expert System • Neural Networks • ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน Departmental IS • ระบบสารสนเทศขององค์กร Enterprise IS • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรInterorganizational IS • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ • TPS • MRS • DSS

  3. ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กรระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กร • ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS) • ระบบสารสนเทศขององค์กร(Enterprise IS) • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร(Interorganizational IS)

  4. ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อยระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย • Departmental IS เป็นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสำหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งขององค์กร โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสำหรับคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการโยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรียกว่า Human resources information system

  5. ระบบสารสนเทศขององค์กรระบบสารสนเทศขององค์กร • Enterprise IS ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายในองค์กร หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์กรนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์กร

  6. ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร • Interorganizational IS เป็นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์กรอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ ปัจจุบันสารสนเทศระหว่างองค์กรนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็น GIS เช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน

  7. การจำแนกตามหน้าที่ขององค์กรการจำแนกตามหน้าที่ขององค์กร • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี(Accounting Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน(Finance Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต(Manufacturing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการตลาด(Marketing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์(Human Resource Management Information System)

  8. การไหลของสารสนเทศในซัพพลายเชนการไหลของสารสนเทศในซัพพลายเชน ซัพพลายเออร์ โรงงาน ผู้จัดจำหน่าย ร้านค้าปลีก ลูกค้า ซัพพลายเชน

  9. การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing System-TPS) • ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ(Management Reporting System-MRS) • ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ(Decision Support Systems-DSS)

  10. ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ Transaction processing system ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ Management reporting system ระบบย่อยของMIS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Decision supporting system ระบบสารสนเทศสำนักงาน Office information system

  11. TPS MRS DSS • ลักษณะสารสนเทศ • ไม่ได้กำหนดล่วงหน้า • นำเสนอแบบสรุป • เกิดขึ้นไม่บ่อย • มองในอนาคต • แหล่งข้อมูลภายนอก • ขอบเขตกว้าง การตัดสินใจแบบ ไม่มีโครงสร้าง ผู้บริหาร ระดับสูง DSS การตัดสินใจแบบ กึ่งมีโครงสร้าง ผู้บริหารระดับกลาง MRS • กำหนดล่วงหน้า • มีรายละเอียดมาก • เกิดขึ้นประจำ • ข้อมูลในอตีต • แหล่งข้อมูลภายใน • ขอบเขตแคบชัดเจน การตัดสินใจแบบ มีโครงสร้าง ระดับปฏิบัติการ TPS

  12. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • Transaction Processing Systems-TPS • ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง • จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลลูกค้า จำนวนของสินค้าที่ขายไป และการชำระเงิน

  13. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก • แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์กรเป็นหลัก • กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน • มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก

  14. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว • TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังจากที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว • ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน(structured data) • ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย • มีความแม่นยำและความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง

  15. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • กระบวนการของ TPS มี 3 วิธี • Batch Processing • Online Processing • Hybrid System

  16. Batch Processing • การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวบรวมไว้เป็นชุด เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลำดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะทำเป็นระยะๆ

  17. Batch Processing ข้อมูลของ ธุรกรรมที่ จัดชุดไว้ ป้อนข้อมูลเข้า แฟ้มข้อมูล ของธุรกรรม (Transaction file) ที่จัดเรียงแล้ว แฟ้มข้อมูลหลักเดิม Old Master File ตรวจสอบความถูกต้อง & ปรับปรุงให้ทันสมัย แฟ้มข้อมูลหลักใหม่ New Master File รายงานที่มี ความผิดพลาด รายงาน ปรับจาก Laudon & Laudon.(1996:215).

  18. Online Processing • ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM ธุรกรรม ประมวล/ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัย ในแฟ้มข้อมูลหลัก แฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ด ป้อนข้อมูลทันที Immediate Input ประมวลผลทันที Immediate Processing ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลทันที Immediate File Update

  19. Hybrid Systems • เป็นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ 2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การประมวลผลจะทำในช่วงระยะเวลาที่กำหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูลการซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ

  20. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • Customer Integrated Systems(CIS) • เป็นระบบสารสนเทศที่พัฒนามาจาก TPS โดยลูกค้าสามารถป้อนข้อมูลและทำการประมวลผลด้วยตนเองได้ เช่น ATM การลงทะเบียนโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ และการจ่ายค่าไฟฟ้าจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านได้

  21. ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ • Management Reporting Systems-MRS • ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทำงานงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยการสรุปสารสนเทศที่มีอยู่ไว้ในฐานข้อมูล(Haag et al., 2000: 54) หรือช่วยในการตัดสินใจในลักษณะที่มีโครงสร้างชัดเจน และเป็นเรื่องที่ทราบล่วงหน้า • เป็นระบบสารสนเทศที่ให้รายงานให้ทราบถึงสถานการณ์และปัญหา ตลอดจนโอกาสที่เกิดขึ้น • สรุปสถานการณ์หรือปัญหา • บางครั้งเรียกว่า Management Information System-MIS

  22. ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ สนับสนุนการตัดสินใจ ผลิตรายงานตามตารางที่กำหนด ระบบจัดทำรายงาน สำหรับการจัดการ Management reporting system ผลิตรายงานตามรูปแบบที่กำหนด รวบรวมและประมวลผลข้อมูล ผลิตรายงานออกมาในรูปแบบกระดาษ

  23. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจDecision Support Systems-DSS • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน

  24. ปัญญาประดิษฐ์ • Genetic Algorithms ที่ช่วยในการสร้างทางเลือกจำนวนมากในการแก้ปัญหา • ระบบการเรียนรู้(Learning Systems)เป็นระบบที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์โดยสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิกิริยากับสถานการณ์แวดล้อมได้

  25. ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญาประดิษฐ์ - ประมวลสัญลักษณ์และ ตัวเลข - ไม่ดำเนินตามขั้นตอนทาง คณิตศาสตร์ - ให้ความสำคัญกับการรับรู้ แบบแผน ปัญญาประดิษฐ์ VS ระบบสนเทศทั่วไป ระบบสารสนเทศทั่วไป - ประมวลทางคณิตสาสตร์ - วิเคราะห์และแก้ปัญหา ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก คณิตศาสตร์

  26. ระบบผู้เชี่ยวชาญExpert System • ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้ใช้ ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในบางสาขา • มีลักษณะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเอาไว้(Knowledge based) • โปรแกรมจะพยายามหาคำตอบจากสิ่งที่ผู้ใช้ได้ป้อนเข้าไป หรือให้คำแนะนำที่ได้จากกฎที่กำหนดไว้ • กระจายความรู้ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความชำนาญ เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณีวิทยา • ความแน่นอน เป็นการสร้างความแน่นอนและความเที่ยงตรงให้เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรือการวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็นต้น • เตรียมการสำหรับอนาคต ลดความเสี่ยงและป้องกันการขาดแคลนความรู้และประสบการณ์ในการตัดสินใจเมื่อเกิดความต้องการขึ้น

  27. องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญองค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ อุปกรณ์ช่วย ในการอธิบาย Inference Engine ฐานความรู้ อุปกรณ์ในการเก็บ รวบรวมความรู้ User interface ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ใช้ ที่มา:ปรับจาก Stair&Reynolds.(1999:494).

  28. ระบบผู้เชี่ยวชาญExpert System • ประโยชน์ของ ES • ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะด้านแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป • ให้ความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญ • ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ • ข้อจำกัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ • การเก็บความรู้จากผู้เชี่ยวชาญทำได้ยาก • การสร้างกฎต่างๆ ทำได้ยาก • ใช้แก้ปัญหาได้เฉพาะจุดเท่านั้น

  29. Neural Network • โครงข่ายประสาท หรือโครงข่ายประสาทประดิษฐ์ หรือ Artificial Neural Network (ANN) เป็นรูปแบบการประมวลผลสารสนเทศที่เลียนแบบมาจากการประมวลผลของระบบประสาทภายในสมองของมนุษย์

  30. Neural Network • การคิดค้นโครงข่ายประสาทในอดีตไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก แต่อย่างไรก็ตามได้มีผู้พยายามที่จะค้นหาความจริง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1943 Warren McCollochและ Walter Pits ได้คิดโครงสร้างของโครงข่ายประสาทเพื่อใช้งานจริงๆ ออกมา แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับอีกเช่นกัน • การเรียนรู้ของโครงข่ายประสาทเรียกว่า การเทรน(trained) ซึ่งจะเปรียบเทียบได้กับการคิดของผู้เชี่ยวชาญ หรือวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่

More Related