1 / 36

Multidisciplinary of Disaster Management

Multidisciplinary of Disaster Management. เมื่อวิทยาศาสตร์เดินทางมาพบกับสังคมศาสตร์ การสร้างแนวร่วมของศาสตร์และศิลป์ ในสหวิทยาการการบริหารจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน. ผศ.ดร. ทวิดา กมลเวชช. ภัยพิบัติ ( DISASTER ).

tad-simpson
Download Presentation

Multidisciplinary of Disaster Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Multidisciplinary of Disaster Management เมื่อวิทยาศาสตร์เดินทางมาพบกับสังคมศาสตร์ การสร้างแนวร่วมของศาสตร์และศิลป์ ในสหวิทยาการการบริหารจัดการภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน ผศ.ดร. ทวิดา กมลเวชช Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  2. ภัยพิบัติ(DISASTER) “UN International Strategy for Disaster Reduction: ISDR” (อ้างในโครงการ GTZ การให้ความช่วยเหลือด้านที่ปรึกษาแก่ กรมป้องกันฯ ในการจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ) ได้ให้คำจำกัดความของภัยพิบัติว่าคือ “สภาวะที่ระบบการทำงานของชุมชนหรือสังคมได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญเสียชีวิต ทรัพย์สิน เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ที่เกินกำลังความสามารถของชุมชนหรือสังคมที่ได้รับผลกระทบจะจัดการได้โดยใช้ทรัพยากรของตนเองที่มีอยู่” Fan page @fb : Dr. TavidaKamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  3. ภัยพิบัติ(DISASTER) “ศูนย์เตรียมความพร้อมภัยพิบัติแห่งเอเชีย”ได้ให้คำจำกัดความของภัยพิบัติดังนี้ภัยพิบัติ คือ “ภาวะภัยที่มีผลกระทบซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ หรือเกิดความเสียหายทางระบบเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อสังคม และอื่นๆอีกมากมาย” ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 1.ภัยทางธรรมชาติ ได้แก่ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ดินถล่ม พายุฝนฟ้าคะนอง พายุเขตร้อน คลื่นพายุซัดฝั่ง ไฟป่า สึนามิ ฝนแล้ง ฯลฯ 2.ภัยที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น อัคคีภัย ภัยจากการจราจรและคมนาคมขนส่ง ภัยจากการก่อการร้าย ภัยจากการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ Fan page @fb : Dr. TavidaKamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  4. ฉุกเฉิน(emergency) หมายความว่า เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วนหรือเป็นที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจำเป็นต้องรีบแก้ไขโดยฉับพลัน Fan page @fb : Dr. TavidaKamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  5. Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  6. อากาศหนาวที่ยุโรป Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  7. สึนามิที่ญี่ปุ่น

  8. แผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่นและเฮติแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่นและเฮติ Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com Fan page @fb : Dr. Tavida Kamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  9. ภัยแล้ง Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  10. พลุระเบิดที่สุพรรณบุรีพลุระเบิดที่สุพรรณบุรี Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com Fan page @fb : Dr. Tavida Kamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  11. รถแก๊สคว่ำที่ อ.ลำลูกกา Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  12. คลื่นหมอกสึนามิที่ฟอริดาคลื่นหมอกสึนามิที่ฟอริดา Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com Fan page @fb : Dr. Tavida Kamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  13. น้ำท่วมและดินถล่ม Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  14. “การเสริมสร้างศักยภาพในการรับมือภัยพิบัติ คือ การที่ประชาชน ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มักจะเป็นด่านแรกของการรับมือภัยพิบัติมีความรู้และความสามารถในการสังเกตสัญญาณการเกิดของภัยต่างๆ ดังนั้น การเรียนรู้เบื้องต้นต่อภัยต่างๆ บทบาทของ อปท. หลักปฏิบัติในการรับมือต่อสถานการณ์ภัย และแนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการตอบสนองต่อภัยพิบัติ จะเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมพร้อม และพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นในองค์รวม” Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  15. ลักษณะพิเศษของภัย • Multiple Hazards (natural and man-made). สาเหตุการเกิดที่หลากหลาย ทำให้ต้องการความรู้ ความสามารถ และความชำนาญการเฉพาะด้านหลายๆด้านในการเตรียมพร้อม ป้องกัน แก้ไข และทำให้ภาวะที่ไม่พึงประสงค์อันเกิดจากภัยกลับสู่สภาพปรกติ • Compound Hazards (earthquake then fire). ภัยอย่างหนึ่งอาจก่อให้เกิดภัยอีกอย่างหนึ่ง เช่น แผ่นดินไหวทำให้เกิดไฟไผม้ แผ่นดินไหวทำให้เกิดสึนามิ น้ำท่วมฉับพลันทำให้เกิดโคลนถล่มดินถล่ม ความกดอากาศที่ผันแปรอย่างรุนแรงทำให้เกิดคลื่นสูง เป็นต้น Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  16. ลักษณะพิเศษของภัย (ต่อ) • Different levels of vulnerabilities. ระดับความอ่อนไหวในการเผชิญกับภัยที่แตกต่างกันของชุมชน หน่วยงาน และประเทศเนื่องจากระดับความรู้ในเรื่องภัย ความพร้อมของเครื่องมือ อุปกรณ์ และโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนการเตรียมพร้อมชุมชนให้สามารถตอบสนองต่อภาวะที่เปลี่ยนไปได้ • Unpredictable and Uncertainty ภัยพิบัติบางอย่างไม่สามารถคาดการณ์ หรือเตือนล่วงหน้าได้อย่างสมบูรณ์ อย่างเช่นการเกิดแผ่นดินไหว หรือหากแม้คาดการณ์ได้ ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเกิดเช่นนั้นเสมอไป Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  17. ลักษณะพิเศษของภัย(ต่อ)ลักษณะพิเศษของภัย(ต่อ) • Nonlinear เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่จำเป็นต้องเป็นลำดับก่อนหลังเสมอไป และผลกระทบที่เกิดสามารถขยายผลได้เป็น • Large Scale ภัยมีความสามารถพิเศษในการเกิดทั้งในพื้นที่เล็กๆจนถึงเกิดทั่วโลก • Chaos ภัยพิบัติส่งผลให้เกิดความโกลาหล และไม่สงบสุข ซึ่งกระทบต่อการจัดการและแก้ไข • Disaster is Politics Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  18. ในกระบวนการบริหารจัดการภัยพิบัติ เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาครัฐที่เป็นหน่วยงานหลัก ไม่สามารถที่จะปฏิบัติงานได้เพียงหน่วยงานเดียว หรือแม้แต่ประสานงานและขอความช่วยเหลือแม้เพียงในเครือข่ายหน่วยงานรัฐเท่านั้น เพราะภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในแทบจะทุกครั้ง จะครอบคลุมอาณาบริเวณในวงกว้าง และเป็นที่ที่มีประชากรอยู่หนาแน่น ดังนั้น จึงต้องอาศัยหน่วยงานภาครัฐอื่นๆในพื้นที่ เข้ามาประสานงาน ร่วมมือ และร่วมแรงร่วมใจ โดยเฉพาะการขอความร่วมมือจากหน่วยงานภาคส่วนอื่นๆและประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  19. Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  20. ภารกิจของ อปท. ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2557 ได้กำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของ “กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยในเขตพื้นที่” (อปท. = อบต. และเทศบาล) ส่วน “อบจ.” จะไม่มีบทบาทหน้าที่หลักในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หากแต่มี “สนับสนุนให้ความช่วยเหลือหน่วยงานท้องถิ่นขนาดเล็กร่วมกับหน่วยงานในระดับจังหวัดเท่านั้น” Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  21. ภารกิจของ อปท. ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ • อำนวยการ ควบคุม ปฏิบัติการ และประสานการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธาณณะภัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบ • สนับสนุนกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยซึ่งมีพื้นที่ติดต่อ หรือใกล้เคียง หรือเขตพื้นที่อื่นร้องขอ • ประสานกับส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ รวมทั้งประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยในทุกขั้นตอน Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  22. งบประมาณ จำแนกตามแหล่งที่มา • งบประมาณปกติจากภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • งบประมาณจากการสนับสนุนของรัฐ (งบประมาณเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน + งบกลาง) Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  23. กระบวนการของการจัดการภัยพิบัติกระบวนการของการจัดการภัยพิบัติ “ก่อน ระหว่าง และหลัง” • การดำเนินการก่อนการเกิดภัย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย (Mitigation and Preparedness) • การดำเนินการระหว่างเกิดภัย (Disaster and Emergency Response) • การดำเนินการหลังจากภัยผ่านพ้นไป (Recovery and Rehabilitation) Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  24. 1. การดำเนินการก่อนการเกิดภัย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณภัย (Mitigation and Preparedness) เครื่องมือ : • การให้ความรู้เรื่องภัยและการปฏิบัติตนด้วยการฝึกอบรมและสื่อชนิดต่างๆ • การวิเคราะห์ความเสี่ยงของแต่ละภัยและแต่ละพื้นที่ • การระบุพื้นที่หลบภัยและการจัดทำแผนที่การจัดการหลบภัย • การฝึกซ้อม Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  25. 2. การดำเนินการระหว่างการเกิดภัย เพื่อป้องกันและลดการดำเนินการระหว่างเกิดภัย (Disaster and Emergency Response) เครื่องมือ : • การระบุหน่วยงานหลักและหน่วยงานประสาน • การอพยพระหว่างสถานการณ์ • การติดต่อสื่อสารด้วยช่องทางต่างๆ • การจัดการจราจร Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  26. 3. การดำเนินการหลังจากภัยผ่านพ้นไป (Recovery and Rehabilitation) เครื่องมือ : • การฟื้นฟูบูรณะทางกายภาพและจิตใจ • การติดตามประเมินความเสียหาย • การจัดการเรื่องของบริจาค • การฟื้นฟูและการประเมินความเสี่ยงต่อเนื่อง • การสร้างชุมชนสามารถฟื้นคืนจากภัย Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  27. หลักการบริหารภาวะวิกฤติหลักการบริหารภาวะวิกฤติ • หลักความครบถ้วนสมบูรณ์ทุกด้าน ทุกภัย ทุกผลกระทบ (Comprehensive) • หลักการคาดการณ์ล่วงหน้า (Progressive) • หลักการขับเคลื่อนด้วยคำนึงถึงความเสี่ยง (Risk Driven) • หลักการบูรณาการทุกภาคส่วน (Integration) Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  28. หลักการบริหารภาวะวิกฤติ(ต่อ)หลักการบริหารภาวะวิกฤติ(ต่อ) 5. หลักการประสานสอดคล้อง (Coordination) 6. หลักการความร่วมมือรวมใจ (Collaboration) 7. หลักความเป็นมืออาชีพ (Professional) 8. หลักความยืดหยุ่น (Flexible) Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  29. การบริหารจัดการภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพการบริหารจัดการภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพ 1. การบริหารจัดการระหว่างหน่วยงานที่มีการจัดชั้นลำดับการปฏิบัติงานที่สอดคล้อง SCALABLE INTERAGENCY MANAGEMENT 2. การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการมีการจัดการการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน SHARED INFORMATION AND COMMUNICATION MANAGEMENT 3. เครือข่ายชุมชนสามารถฟื้นคืนจากภัย RESILIENT COMMUNITY NETWORK 4. การเรียนรู้ด้วยตัวเอง หรือการสร้างความสามารถในการปรับตัว SELF-LEARNING/ ADAPTIVE CAPACITY BUILDING (โครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค, ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการ, วัฒนธรรมแบบเปิด) 5. การสร้างองค์ความรู้แบบบูรณาการในการจัดการเกี่ยวกับภัย DISASTER MANAGEMENT IS MULTIDISCIPLINARY 6. สร้างการมีส่วนร่วมที่ระดับต่างๆ ALLLEVELS OF PARTICIPATION Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  30. Thailand: Tsunami Response Static Network

  31. THAILAND NATIONAL RESPONSE INTERACTION NETWORK IN TSUNAMI

  32. BANGKOK METROPOLITANEMERGENCY RESPONSEANDRADIONETWORKS Fan page @fb : Dr. TavidaKamolveje-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  33. PHASE III น.อ.ศรัณย์ ทัพภะสุต๑๔ ก.พ.๕๑

  34. Q & A Fan page @fb : Dr. Tavida Kamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

  35. การฝึกซ้อม C-MEX 10 19ส.ค. 53 07.00 น. ฉ.2 08.00 น. 20 ส.ค. 53 00.00 น. 20 ส.ค. 53 ฉ.4 00.00 น. 07.30 น. 19ส.ค. 53 18ส.ค. 53 ฉ.5 10.00 น. 14.00 น. 19.00 น. ฉ.3 14.00 น. ฉ.1 19.30 น.

  36. เอกสารแนะนำ • หนังสือ “คู่มือการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น” ของสถาบันพระปกเกล้า • มองพิบัติ จัดการภัย กับทวิดา กมลเวชช ในกรุงเทพธุรกิจ ออนไลด์ • ทวิดา นักวิชาการด้านการจัดการภัยพิบัติวิพากษ์ ศปภ. ในศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง • บริหารจัดการภัยพิบัติจากสึนามิสู่อุทกภัย 54 ใน voice TV Fan page @fb : Dr. Tavida Kamolvej e-mail : tavida_polsc@hotmail.com

More Related