1 / 47

การจัดการส้วมสาธารณะ

โดย นายประโชติ กราบกราน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรม อนามัย. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( Auditor ) ปีงบประมาณ 2562

sylviak
Download Presentation

การจัดการส้วมสาธารณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย นายประโชติ กราบกราน สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Auditor) ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต (ศูนย์การค้าเซียร์รังสิต) จังหวัดปทุมธานี การจัดการส้วมสาธารณะ

  2. ส้วมหมายถึง - ที่ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะหรือ - ที่ที่ใช้เพื่อเก็บรวบรวมและกำจัดสิ่งปฏิกูลที่ร่างกายขับออกมา ส้วมสาธารณะหมายถึง ห้องส้วมในที่สาธารณะหรือ สถานประกอบการที่จัดเตรียมไว้ ให้ประชาชนทั่วไปใช้บริการ

  3. สะอาด (Health; H) ความสะอาดของห้องส้วม สุขภัณฑ์ทั้งหมด มีการระบายอากาศดี ไม่มีกลิ่นเหม็น จัดให้มีการทำความสะอาด และมีระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจำ การพัฒนาส้วมสาธารณะไทย ให้บรรลุ 3 เรื่อง 9 ข้อ

  4. เพียงพอ( Accessibility; A) 2 ข้อ ต้องมีส้วมให้เพียงพอ สำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไป ต้องพร้อมใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ ปลอดภัย ( Safety; S) 5 ข้อ ผู้ใช้บริการจะต้องปลอดภัยขณะใช้ส้วม

  5. พฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้องพฤติกรรมการใช้ส้วมที่ถูกต้อง กรมอนามัย 6

  6. เป้าหมาย : การจัดการส้วมสาธารณะ สถานที่เป้าหมายในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  7. เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศ (HAS)

  8. คำชี้แจงการใช้เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศคำชี้แจงการใช้เกณฑ์มาตรฐานส้วมสาธารณะระดับประเทศ HEALTHY พื้น ผนัง เพดาน โถส้วม ที่กดโถส้วม โถปัสสาวะ ที่ปัสสาวะ สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ H 1 : คำชี้แจง: ความสะอาด หมายถึง ไม่มีฝุ่น หยากไย่ ไม่มีคราบสกปรก ให้สังเกตบริเวณซอกมุม คอห่าน ภายในภายนอกโถส้วมและ โถปัสสาวะด้วย

  9. H 2:น้ำใช้สะอาด เพียงพอ และไม่มีลูกน้ำยุง ภาชนะเก็บกักน้ำ ขันตักน้ำ สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ คราบสกปรก คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:น้ำสะอาด หมายถึง น้ำใส ไม่มีตะกอน ไม่มีลูกน้ำยุง ไม่มีลูกน้ำยุงในภาชนะเก็บกักน้ำภาชนะใส่ดอกไม้ประดับ

  10. H 3: กระดาษชำระเพียงพอต่อการใช้งานตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ (อาจจำหน่ายหรือบริการฟรี) หรือสายฉีดน้ำชำระที่สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ • คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: • กรณีมีกระดาษชำระ กระดาษชำระต้องอยู่ในภาชนะที่เตรียมไว้หรือที่แขวนโดยเฉพาะ

  11. H 4: อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจก สะอาด ไม่มีคราบสกปรก อยู่ในสภาพดีและใช้งานได้ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: อ่างล้างมือ ก๊อกน้ำ กระจก ให้สังเกต คราบสกปรกหรือคราบสีดำ บริเวณซอกรอยต่อระหว่างโลหะกับเนื้อกระเบื้อง และก๊อกน้ำ

  12. H 5:สบู่ล้างมือ พร้อมให้ใช้ ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: สบู่ล้างมือ ควรอยู่ในภาชนะใส่สบู่โดยเฉพาะถ้าเป็นสบู่เหลว ที่กดสบู่ต้องใช้งานได้

  13. H 6: ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่ว ซึม ตั้งอยู่ในบริเวณอ่างล้างมือ หรือบริเวณใกล้เคียง คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ถังรองรับมูลฝอย สะอาด มีฝาปิด และต้องไม่มีขยะมูลฝอยล้นออกมานอกถัง

  14. H 7: มีการระบายอากาศดี และ ไม่มีกลิ่นเหม็น คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: 1. มีช่องระบายอากาศไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ห้อง หรือมีเครื่องระบายอากาศ 2. ไม่มีกลิ่นของอุจจาระ และปัสสาวะ และต้องไม่มีกลิ่นเหม็น ขณะราดน้ำหรือกดชักโครก ซึ่งเป็นกลิ่นจากท่อ หรือบ่อเกรอะที่ไหลย้อนขึ้นมา

  15. H 8:สภาพท่อระบายสิ่งปฏิกูลและ ถังเก็บกักไม่รั่วแตกหรือชำรุด คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:ไม่พบรอยแตกร้าวของท่อ ถังเก็บกักและฝาปิดบ่อเก็บกักสิ่งปฏิกูล

  16. H 9 :จัดให้มีการทำความสะอาด และระบบการควบคุมตรวจตรา เป็นประจำ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์ : 1. ให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบทำความสะอาดเป็นประจำทุกวัน ควรทำความสะอาด อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 2. จัดให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุมตรวจตราเพื่อให้การทำความสะอาดห้องส้วม ให้สะอาดอยู่เสมอ

  17. A 10:จัดให้มีส้วมนั่งราบสำหรับผู้พิการ ผู้สูงวัย หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปอย่างน้อยหนึ่งที่ ACCESSCIBILITY คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ส้วมนั่งราบ จะเป็นแบบชักโครกหรือราดน้ำก็ได้ ในกรณีที่สถานที่นั้นไม่มีคนพิการ หรือผู้สูงอายุหรือ ไม่มีผู้ที่มีความจำเป็นต้อง ใช้ส้วมแบบนั่งราบ ถือว่าควรผ่านการประเมิน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ประเมิน

  18. A 11:ส้วมสาธารณะพร้อมใช้งานตลอดเวลา ที่เปิดให้บริการ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ห้องส้วมและอุปกรณ์พร้อมใช้งาน กรณีชำรุด ซ่อมแซมให้ติดป้าย

  19. S 12:บริเวณที่ตั้งส้วมต้องไม่อยู่ที่ลับตา / เปลี่ยว S 13:กรณีที่มีห้องส้วมตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไป ให้แยกเป็น ห้องส้วมสำหรับชาย – หญิง โดยมีป้าย หรือสัญลักษณ์ที่ชัดเจน SAFETY

  20. S14 :ประตู ที่จับเปิด – ปิด และที่ล็อกด้านใน สะอาด อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้

  21. S 15:พื้นห้องส้วมแห้ง คำชี้แจงการใช้เกณฑ์: ถ้าพื้นภายในห้องส้วมไม่แห้ง แต่ถ้าพื้นไม่ลื่นและไม่มีน้ำขัง ถือว่าควรผ่านการประเมิน ทั้งนี้ให้ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้ประเมิน

  22. S16:แสงสว่างเพียงพอ สามารถมองเห็นได้ทั่วบริเวณ คำชี้แจงการใช้เกณฑ์:แสงสว่างอย่างน้อย 100 ลักซ์ หรือในคนสายตาปกติสามารถมองเห็นลายมือที่อยู่ห่างจากตาประมาณ 1 ฟุตได้ชัด แสดงว่าแสงสว่างเพียงพอ

  23. การเฝ้าระวังความเสี่ยงในส้วมสาธารณะการเฝ้าระวังความเสี่ยงในส้วมสาธารณะ การทดสอบการปนเปื้อนอุจจาระ โดยการสุ่มเก็บตัวอย่างด้วยวิธี Swab Test หาเชื้ออีโคไล (Escherichia coli) ในส้วมสาธารณะ ปี 2559

  24. การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น EHA3001 การจัดการส้วมสาธารณะ

  25. กระบวนงาน สำรวจและจัดทำฐานข้อมูล การจัดการส้วมสาธารณะ 1 กำหนดผู้รับผิดชอบ 2 ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ ในการพัฒนาส้วมสาธารณะ 3 4 เสนอแนวทางการพัฒนาส้วมสาธารณะ การขอรับการประเมินและรับรองมาตรฐานส้วมสาธารณะ ดำเนินการปรับปรุง/พัฒนา ส้วมสาธารณะ 5 6

  26. กระบวนงาน ติดตาม ควบคุม กำกับ การจัดการส้วมสาธารณะ 8 พัฒนาศักยภาพบุคลากร 7 วิเคราะห์และประเมินผลกระบวนการจัดการส้วมสาธารณะ เฝ้าระวังความสะอาด ส้วมสาธารณะ 10 9 11 พัฒนาการดำเนินงาน

  27. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 1 : กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเตรียมการ

  28. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 2 : สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลการจัดการส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ

  29. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 3 : ประเมินความพร้อม และความเป็นไปได้ ในการพัฒนาส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ

  30. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 4 : เสนอแนวทางการพัฒนาส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ

  31. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะดำเนินการ ขั้นตอนที่ 5 : ดำเนินการปรับปรุง/พัฒนาส้วมสาธารณะ

  32. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ 6 : การขอรับการประเมินและรับรองมาตรฐาน ส้วมสาธารณะ ระยะดำเนินการ

  33. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 7 : ติดตาม ควบคุม กำกับ การจัดการส้วมสาธารณะ

  34. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 8 : พัฒนาศักยภาพบุคลากร

  35. การปฏิบัติงาน ระยะติดตามและ ประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 9 : เฝ้าระวังด้านความสะอาดส้วมสาธารณะ

  36. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 10 : วิเคราะห์และประเมินผลกระบวนการจัดการส้วมสาธารณะ

  37. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ขั้นตอนที่ 11 : พัฒนาการดำเนินงาน

  38. องค์ประกอบที่ 6 การจัดการกระบวนการ คะแนนเต็ม 100 คะแนน

  39. องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์ คะแนนเต็ม 100 คะแนน 1 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานพัฒนาส้วมสาธารณะทั้งหมดที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบ มีผลส้วมสาธารณะผ่านมาตรฐาน HAS ตั้งแต่ร้อยละ 25 ของจำนวนประเภท (setting) (10 คะแนน)

  40. องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์ 3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีผลการตรวจเชื้อ Fecal Coliform Bacteria ในส้วมสาธารณะทุกประเภท (setting)ที่อยู่ในความรับผิดชอบ (20 คะแนน) 4

  41. องค์ประกอบที่ 7 การวัดผลลัพธ์

  42. เทคนิคการตรวจประเมิน คุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการจัดการส้วมสาธารณะ

More Related