1 / 23

กลุ่มภารกิจพัฒนาการผลิตปศุสัตว์

ผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. กลุ่มภารกิจพัฒนาการผลิตปศุสัตว์. รอธ.ธนิตย์ เอนกวิทย์. หน่วยงานในกลุ่มภารกิจ สำนักเทคโนโลยีการผลิตปศุสัตว์ กองบำรุงพันธุ์สัตว์ กองอาหารสัตว์. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. Input – ปัจจัยนำเข้า. แยกเป็นงบประมาณ

Download Presentation

กลุ่มภารกิจพัฒนาการผลิตปศุสัตว์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 กลุ่มภารกิจพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ รอธ.ธนิตย์เอนกวิทย์ หน่วยงานในกลุ่มภารกิจ สำนักเทคโนโลยีการผลิตปศุสัตว์ กองบำรุงพันธุ์สัตว์ กองอาหารสัตว์

  2. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Input – ปัจจัยนำเข้า แยกเป็นงบประมาณ กองสนับสนุน : 462,364,900 บาท กองหลัก : 717,364,300 บาท หน่วยปฏิบัติ : ศบส./สบส. , ศผท. ศอส./สอส. และสนง.ปศจ. สถานที่ดำเนินการ : 77 จังหวัด

  3. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 1. กิจกรรมพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ : ผลิตสัตว์พันธุ์ดี 2.1300 ล้านตัว กบส. 1) ผลิตสัตว์ 1,835,780 ตัว สทป. 2) ลูกสัตว์จากการผสมเทียม 294,220 ตัว 3) เกษตรกรได้รับการบริการ 52,100 ราย งบประมาณ 899,719,400 บาท โดยแยกเป็น กองหลัก 566,554,300 บาท กองสนับสนุน 333,165,100 บาท (ขั้นต่ำ 323,159,900 บาท) 2. กิจกรรมพัฒนาอาหารสัตว์ : ผลิตพืชอาหารสัตว์พันธุ์ดีและเสบียงสัตว์ 1,361.5 ตัน (กอส.) 1) กรมปศุสัตว์ผลิตพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 1,150 ตัน และเสบียงสัตว์ 9,530 ตัน 2) เกษตรกรผลิตพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 1,461.5 ตัน และเสบียงสัตว์ 49,400 ตัน 2) เกษตรกรได้รับบริการ 134,960 ราย งบประมาณ 231,708,600 บาท โดยแยกเป็น กองหลัก 102,508,800 บาท กองสนับสนุน 129,199,800 บาท (ขั้นต่ำ 122,895,900 บาท) 3. กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ : 88 โครงการ งบประมาณ 48,301,200 บาท Activity – กิจกรรม ขั้นต่ำ : ได้แก่เงินเดือนข้าราชการ และค่าจ้างประจำ ค่าเช้าบ้าน, เงินตอบแทนพิเศษ ( เต็มขั้น ) ค่าเช่าทรัพย์สิน (ที่ดิน/อาคาร), ค่าสาธารณูปโภค (ค่าโทรศัพท์, ค่าน้ำประปา และค่าไฟฟ้า)

  4. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ผลผลิต/ผลบริการ ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย งบประมาณ 1,176,642,000 บาท แยกเป็นงบประมาณ กองหลัก 717,364,300 บาท และ กองสนับสนุน 462,364,900 บาท 1. เกษตรกรเป้าหมาย 187,060 ราย ได้รับบริการพัฒนาการผลิตสัตว์ จากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. สามารถผลิตสัตว์พันธุ์ดี/อาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสม ดังนี้ 2.1 พันธุ์สัตว์ที่ผลิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด2,130,000 ตัว (กบส. 1,655,497 + สทป. 277,933 ตัว) คิดเป็น 90.77 % ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 899,719,400 บาท โดยแยกเป็น กองหลัก 566,554,300 บาท และกองสนับสนุน 333,165,100 บาท 2.2 อาหารสัตว์คุณภาพดีที่ผลิตได้ ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 247,202,000 บาท โดยแยกเป็น กองหลัก 102,508,800 บาท และกองสนับสนุน 129,199,800 บาท Output - ผลผลิต ผลการดำเนินงาน ต.ค. 53 – ก.ค. 54

  5. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ และผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินงานพัฒนาปรับปรุงบำรุงพันธุ์สัตว์ พัฒนาพันธุ์พืชอาหารสัตว์และพัฒนาอาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสมสู่เกษตรกร • สัตว์พันธุ์ดีที่ผลิตได้มูลค่าประมาณ 217.72 ล้านบาท • 2) สัตว์ตั้งท้อง มูลค่าประมาณ 56.88 ล้านบาท • 3) ลูกสัตว์เกิดจากผสมเทียม มูลค่าประมาณ 650.36 ล้านบาท • 4) พืชอาหารสัตว์ที่ผลิตได้ มูลค่าประมาณ 153.79 ล้านบาท • รวมทั้งสิ้น มูลค่าประมาณ 1,078.75 ล้านบาท • 2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร Outcome - ผลลัพธ์ Impact (ผลกระทบ) • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น (ด้านปศุสัตว์) • 2. เพิ่มโอกาสทางการค้าและขีดความสามารถในการแข่งขันของ • สินค้าปศุสัตว์ • 3. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  6. งานสำคัญ ปีงบประมาณ 2554 • โครงการสร้างพันธุ์โคเนื้อคุณภาพไทย-แบล็ค (สทป.) • การกระจายสัตว์พันธุ์ดี โดยฟาร์มเกษตรกรเครือข่าย และการประมูลสัตว์ (กบส.) • โครงการแก้ไขปัญหาอาหารสัตว์ราคาแพง(กอส.)

  7. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 Input – ปัจจัยนำเข้า แยกเป็นงบประมาณ กองสนับสนุน : 502,659,700 บาท กองหลัก : 788,392,000 บาท กลุ่มเป้าหมาย : เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์/ปลูกพืชอาหารสัตว์ และที่สนใจ 303,970 ราย สถานที่ดำเนินการ : 77 จังหวัด

  8. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 1. กิจกรรมพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ : กบส. 1) ผลิตสัตว์ 1,835,800 2) เกษตรกรได้รับการบริการ 2,314 ราย สทป. 1) บริการผสมเทียม 528,700 ตัว 2) เกษตรกรได้รับการบริการ 197,870 ราย 3) แม่สัตว์ตั้งท้อง 344,655 ตัว งบประมาณ 995,340,500 บาท แยกเป็น กองหลัก 628,110,300 บาท และกองสนับสนุน 367,230,200 บาท (ขั้นต่ำ 326,159,900 บาท) 2. กิจกรรมพัฒนาอาหารสัตว์ : กอส. 1) ผลิตพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 2,670 ตัน และเสบียงสัตว์ 61,030 ตัน 2) เกษตรกรได้รับบริการ 103,696 ราย งบประมาณ 247,202,000 บาท แยกเป็น กองหลัก 111,772,500 บาท และกองสนับสนุน 135,429,500 บาท(ขั้นต่ำ 122,895,900 บาท) 3. กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ : 85 โครงการ งบประมาณ 48,509,200 บาท Activity – กิจกรรม หน่วยปฏิบัติ : ศบส./สบส. ศผท. ศอส./สอส. สนง.ปศจ.

  9. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ผลผลิต/ผลบริการ ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย งบประมาณ 1,291,051,700 บาท แยกเป้น กองหลัก 788,392,000 บาท และกองสนับสนุน 502,659,700 บาท (ขั้นต่ำ 446,055,800 บาท) 1. เกษตรกรเป้าหมาย 303,880 ราย ได้รับบริการพัฒนาการผลิตสัตว์ จากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. สามารถผลิตสัตว์พันธุ์ดี/อาหารสัตว์คุณภาพดี ที่เหมาะสม ดังนี้ 2.1 พันธุ์สัตว์ที่ผลิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,190,000 ตัว แยกเป็น (กบส. 1,835,800 + สทป. 384,200 ตัว) 2.2 แม่สัตว์ตั้งท้อง 344,655 ตัว ข้อ 2.1 + 2.2 มีเกษตรกรได้รับบริการฯ 200,184 ราย ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 995,340,500 บาท แยกเป็น กองหลัก 628,110,300 บาท และกองสนับสนุน 367,230,200 บาท 2.3 อาหารสัตว์คุรภาพดีที่ผลิตได้ Output - ผลผลิต เกษตรกรได้รับบริการฯ 103,696 ราย ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 247,202,000 บาท แยกเป็น กองหลัก 111,772,500 บาท และกองสนับสนุน 135,429,500 บาท

  10. ผลผลิตการพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ และผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินงานพัฒนาปรับปรุงบำรุงพันธุ์สัตว์ พัฒนาพันธุ์พืชอาหารสัตว์และพัฒนาอาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสมสู่เกษตรกร • สัตว์พันธุ์ดีที่ผลิตได้มูลค่าประมาณ 228.61 ล้านบาท • 2) สัตว์ตั้งท้อง มูลค่าประมาณ 62.57 ล้านบาท • 3) ลูกสัตว์เกิดจากผสมเทียม มูลค่าประมาณ 885.50 ล้านบาท • 4) พืชอาหารสัตว์ที่ผลิตได้ มูลค่าประมาณ 154.92 ล้านบาท • รวมทั้งสิ้น มูลค่าประมาณ 1,331.60 ล้านบาท • 2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร Outcome - ผลลัพธ์ Impact (ผลกระทบ) • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น (ด้านปศุสัตว์) • 2. เพิ่มโอกาสทางการค้าและขีดความสามารถในการแข่งขันของ • สินค้าปศุสัตว์ • 3. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  11. งานสำคัญ ปีงบประมาณ 2555 • โครงการสร้างพันธุ์โคเนื้อคุณภาพไทย-แบล็ค (สทป.) • ฟาร์มเครือข่าย (กบส.) • โครงการแก้ไขปัญหาอาหารสัตว์ราคาแพง(กอส.)

  12. สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ Input – ปัจจัยนำเข้า หน่วยปฏิบัติ : ศผท. และ ปศจ. สถานที่ดำเนินการ : 71 จังหวัด

  13. สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ 1. กิจกรรมพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ : ผลิตสัตว์ พันธุ์ดี 294,220 ตัว 1) ลูกสัตว์จากการผสมเทียม 294,220 ตัว 2) บริการผสมเทียม 428,700 ตัว 3) เกษตรกรได้รับการบริการ 52,100 ราย 4) ผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง จำนวน 832,120 โด๊ส 5) ผลิตโคนมพันธุ์ทรอปิคอลโฮลสไตน์ 6) สร้างพันุ์โคเนื้อคุณภาพไทย – แบล็ค งบประมาณ 235,611,200 บาท (ขั้นต่ำ 11,508,000 บาท) 2. กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ : 22 โครงการ งบประมาณ 19,588,600 บาท Activity – กิจกรรม

  14. สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ ผลผลิต/ผลบริการ ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย งบประมาณ 293,211,600 บาท 1. เกษตรกรเป้าหมาย 52,100 ราย ได้รับบริการพัฒนาการผลิต สัตว์จากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. สามารถผลิตสัตว์พันธุ์ดี ที่เหมาะสม ดังนี้ 1) พันธุ์สัตว์ที่ผลิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 277,933 ตัว คิดเป็น 90.79 % 2) บริการผสมเทียม จำนวน 377,650 ตัว คิดเป็น 89.13 % 3) ผลิตน้ำเชื้อแช่แข็ง จำนวน 813,678 โด๊ส คิดเป็น 98.00 % 4) พ่อโคนมชั้นเลิส 5) พ่อโคพันธุ์ไทยแบล็คที่สามารถผลิตน้ำเชื้อเพื่อกระจายสู่ เกษตรกร 3. งานวิจัยจำนวน 20 โครงการ คิดเป็น 100 % ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 293,211,600 บาท Output - ผลผลิต ผลการดำเนินงาน ต.ค. 53 – ก.ค. 54

  15. สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ • มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ และผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินงานพัฒนาปรับปรุงบำรุงพันธุ์สัตว์ พัฒนาพันธุ์พืชอาหารสัตว์และพัฒนาอาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสมสู่เกษตรกร • 1) สัตว์ตั้งท้อง มูลค่าประมาณ 56.88 ล้านบาท • 2) ลูกสัตว์เกิดจากผสมเทียม มูลค่าประมาณ 650.36 ล้านบาท • 2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร Outcome - ผลลัพธ์ Impact (ผลกระทบ) • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น • (ด้านปศุสัตว์) • 2. เพิ่มโอกาสทางการค้าและขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าปศุสัตว์ • 3. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  16. กองบำรุงพันธุ์สัตว์ Input – ปัจจัยนำเข้า หน่วยปฏิบัติ : ศบส./สบส. และ ปศจ. สถานที่ดำเนินการ : 77 จังหวัด

  17. กองบำรุงพันธุ์สัตว์ 1. กิจกรรมพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ : 1) ผลิตสัตว์ 1,835,780 ตัว 2) ความหลากหลายทางชีวภาพ 3) พัฒนาสัตว์เลี้ยงไทย 4) ดูแลสัตว์ทรงเลี้ยงโครงการวังทวีวัฒนา และ พระที่นั่งอัมพรสถาน จำนวน 647 ตัว 5) ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุงพันธุ์ปศุสัตว์แห่งชาติ ภายใต้วงเงินงบประมาณ 292,931,300 บาท (ขั้นต่ำ 312,000 บาท) 2. กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ : 15 โครงการ งบประมาณ 11,259,100 บาท 3. กิจกรรมถ่ายทอดอองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านการปศุสัตว์ : อบรมให้ความรู้เกษตรกรเรื่อง เกษตรอินทรีย์ 3,000 ราย งบประมาณ 10,049,900 บาท Activity – กิจกรรม

  18. กองบำรุงพันธุ์สัตว์ ผลผลิต/ผลบริการ ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย งบประมาณ 314,240,300 บาท 1. เกษตรกรเป้าหมาย 187,060 ราย ได้รับบริการพัฒนาการผลิต สัตว์จากหน่วยงานของกรมปศุสัตว์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 2. สามารถผลิตสัตว์พันธุ์ดีที่เหมาะสม ได้แก่ พันธุ์สัตว์ที่ผลิตได้ตาม เกณฑ์ที่กำหนด 1,655,497 ตัวคิดเป็น 90.18 % 3. ขึ้นทะเบียนสัตว์ในระบบฐานข้อมูล จำนวน 33,000 ตัว และ สร้างฟาร์มเครือข่าย จำนวน 100 ฟาร์ม (ข้อ 1 – ข้อ3 ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 292,931,300 บาท) 4. งานวิจัยจำนวน 15 โครงการ คิดเป็น 100 % ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 11,259,100 บาท 5. อบรมเกษตรกร จำนวน 3,000 ราย ภายใต้วงเงินงบประมาณ 10,049,900 บาท Output - ผลผลิต ผลการดำเนินงาน ต.ค. 53 – ก.ค. 54

  19. กองบำรุงพันธุ์สัตว์ • มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ และผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินงานพัฒนาปรับปรุงบำรุงพันธุ์สัตว์ พัฒนาพันธุ์พืชอาหารสัตว์และพัฒนาอาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสมสู่เกษตรกร • สัตว์พันธุ์ดีที่ผลิตได้มูลค่าประมาณ 217.72 ล้านบาท • ลดการนำเข้าปศุสัตว์พ่อแม่พันธุ์และน้ำเชื้อ 1.5 % ต่อปี • 2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร Outcome - ผลลัพธ์ Impact (ผลกระทบ) • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น • (ด้านปศุสัตว์) • 2. เพิ่มโอกาสทางการค้าและขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าปศุสัตว์ • 3. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  20. กองอาหารสัตว์ Input – ปัจจัยนำเข้า หน่วยปฏิบัติ : ศอส./สอส. และสนง.ปศจ. สถานที่ดำเนินการ : 77 จังหวัด

  21. กองอาหารสัตว์ 1. กิจกรรมพัฒนาอาหารสัตว์ : ผลิตพืชอาหารสัตว์พันธุ์ดีและเสบียงสัตว์ 61,361.5 ตัน 1) กรมปศุสัตว์ผลิตพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 1,150 ตัน และเสบียงสัตว์ 9,530 ตัน 2) เกษตรกรผลิตพันธุ์พืชอาหารสัตว์ 1,461.5 ตัน และเสบียงสัตว์ 9,400 ตัน 3) เกษตรกรได้รับบริการ 134,960 ราย 4) พัฒนาเทคโนโลยีอาหารสัตว์ จำนวน 46 เรื่อง 5) โครงการแก้ไขปัญหาอาหารสัตว์ราคาแพง อบรมเกษตรกร จำนวน 300 ราย ภายใต้วงเงินงบประมาณ 102,508,800 บาท (ขั้นต่ำ 160,200 บาท) 2. กิจกรรมวิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ : 20 โครงการ งบประมาณ 3,458,800บาท 3. กิจกรรมถ่ายทอดอองค์ความรู้และเทคโนโลยี - จัดตั้งหมู่บ้านหลักถ่ายทอเทคโนโลยีฯ 210 แห่ง - จัดทำบ่อแก๊สชีวภาพ งบประมาณ 5,893,100บาท Activity – กิจกรรม

  22. กองอาหารสัตว์ 1. อาหารสัตว์คุณภาพดีที่ผลิตได้ Output - ผลผลิต ผลการดำเนินงาน ต.ค. 53 – ก.ค. 54 • 2. พัฒนาเทคโนโลยีอาหารสัตว์ 46 เรื่อง คิดเป็น 100% • 3. แก้ไขปัญหาอาหารสัตว์ให้เกษตร 300 ราย คิดเป็น 100 % • ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 102,508,800 บาท • 4. งานวิจัยจำนวน 20 โครงการ คิดเป็น 100 % • ภายในวงเงินค่าใช้จ่าย 5,893,100 บาท • 5. จัดตั้งหมู่บ้านหลักถ่ายทอดเทคโนโลยี • มีเกษตรกรแกนนำ 2,100 ราย • เกษตรกรเครือข่าย 27,000 ราย • จังหวัดและท้องถิ่นขยายผลบ่อแก๊ส 5,129 ครอบครัว

  23. กองอาหารสัตว์ • มูลค่าผลผลิตปศุสัตว์เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนด้านอาหารสัตว์ และผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินงานพัฒนาพันธุ์พืชอาหารสัตว์และพัฒนาอาหารสัตว์คุณภาพดีที่เหมาะสมสู่เกษตรกร • มูลค่าที่เกษตรกรได้รับ รวมเป็น 153.79 ล้านบาท แยกเป็น • 1) ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์จำหน่าย 3.09 ล้านบาท • 2) ผลิตเสบียงสัตว์จำหน่าย 148.00 ล้านบาท • 3) ผลิตท่อนพันธุ์จำหน่าย 2.70 ล้านบาท • 2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร Outcome - ผลลัพธ์ Impact (ผลกระทบ) • มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น • (ด้านปศุสัตว์) • 2. เพิ่มโอกาสทางการค้าและขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าปศุสัตว์ • 3. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

More Related