1 / 48

การอนุรักษ์ระบบนิเวศ (ต่อ) เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ penkhae.t@msu.ac.th

1705 471 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Principles of Natural Resources and Environmental Conservation. การอนุรักษ์ระบบนิเวศ (ต่อ) เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ penkhae.t@msu.ac.th. Lecture Outline. Ecosystem Conservation: Definition Principle of Ecosystem Conservation

suzy
Download Presentation

การอนุรักษ์ระบบนิเวศ (ต่อ) เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ penkhae.t@msu.ac.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1705 471 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Principles of Natural Resources and Environmental Conservation การอนุรักษ์ระบบนิเวศ (ต่อ) เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ penkhae.t@msu.ac.th

  2. Lecture Outline • Ecosystem Conservation: Definition • Principle of Ecosystem Conservation • Principle of Ecosystem Restoration

  3. ความหมายของการอนุรักษ์ความหมายของการอนุรักษ์ • การใช้อย่างสมเหตุสมผล เพื่อการมีใช้ตลอดไป “Using for immediate needs and saving for future use” that mean - To use rationally - build up

  4. หลักการอนุรักษ์ หลักการที่1 การใช้แบบยั่งยืน ทรัพยากรทุกประเภทต้องมีแผนการใช้อย่างยั่งยืน หลักการที่2 การฟื้นฟูสิ่งเสื่อมโทรม ทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษย์สร้างขึ้น ใช้แล้วเสื่อมโทรม เพราะเทคโนโลยีไม่เหมาะสม ต้องฟื้นฟูเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ โดยใช้เวลาฟื้นฟู การกำจัด การบำบัด การทดแทน หลักการที่3การสงวนของหายาก ทรัพยากรบางชนิด/ประเภทใช้มากเกินไป อาจสูญพันธ์ได้ ควรสงวน ไว้เพื่อเป็นแม่พันธุ์หรือตัวแบบในการผลิตให้มากขึ้น

  5. Ecosystem Conservation Ecosystem management is a process that aims to conserve major ecological services and restore natural resources while meeting the socioeconomic, political and cultural needs of current and future generations. The principal objective of ecosystem management is the efficient maintenance, and ethical use of natural resources. Ecosystem management acknowledges that the interrelation of socio-cultural, economic and ecological systems is paramount to understanding the circumstances that affect environmental goals and outcomes.

  6. In Theory… • Conserving ecosystem integrity, while maintaining sustainable levels of human use. • Establishing common goals with stakeholders in ecologically defined areas. • Adaptive management. • Ecosystem conservation incorporates the following principles: • economic sustainability and societal well-being depend on healthy ecosystems. • consideration and incorporation of environmental and socioeconomic factors. • decisions are based on the best available science and data. • conserving fish and wildlife is addressed at varying scales. • recognition that the dynamics and resiliency of ecosystems vary. • emphasize prevention over mitigation or restoration. • involvement of all stakeholders in achieving desired results. • adopt an interdisciplinary, coordinated approach. • practice flexibility and innovation. • practice adaptive management, based on monitoring and readjustment. • consider information from all organizational levels, delegating decisions to the lowest levels, and giving employees maximum possible authority.

  7. การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งโปรแกรมสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) ให้ความหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนว่า (Sustainable development)คือ “การพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของปัจจุบัน โดยไม่ทำให้โอกาสในอนาคตลดลง”

  8. Ecosystem Services The benefits people obtain from ecosystems

  9. Consequences of Ecosystem Change for Human Well-being

  10. แนวคิดรอยเท้านิเวศ (Ecological Footprint) • รอยเท้าทางนิเวศ (ecological footprint) เป็นมุมมองใหม่ที่รวบรวมปัจจัยต่างๆ ที่มนุษย์ต้องการในการดำรงชีวิตมาประกอบการคำนวณหาค่า K (carrying capacity) • ปัจจัยดังกล่าว ได้แก่ อาหาร เชื้อเพลิง น้ำ ที่อยู่อาศัย และพลังงานที่ใช้ในการบำบัดของเสียที่มนุษย์สร้างขึ้น นำมารวมกันตีค่าเป็นพื้นที่ที่แต่ละคนต้องการ เพื่อเป็นพื้นฐานของทรัพยากรทั้งหลายดังกล่าวมาแล้วข้างต้น โดยคำนวณออกมาเป็นหน่วย

  11. แนวคิดรอยเท้านิเวศ (Ecological Footprint)

  12. Environmental Worldview & Environmental Ethics Bioshere or Earth-centered Ecocentric Biocentric Anthropocentric Self-Centered Planetary management Stewardship Environmental wisdom Environmental Worldviews

  13. Principle of Ecosystem Conservation • ระบบนิเวศที่ยั่งยืน หมายถึง ระบบที่สามารถรักษาคุณลักษณะของความหลากหลายของกลุ่มทำหน้าที่หลัก (functional group) ผลผลิตและความอุดมสมบูรณ์ระบบ และอัตราการหมุนเวียนทางชีวธรณีเคมีเอาไว้ ภายใต้วงจรการปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเองตามปกติและการรบกวนระบบที่เกิดขึ้น (จิรากรณ์ และนันทนา, 2552)

  14. Principle of Ecosystem Conservation • หลักการ 3 ประการที่จำเป็นต่อการจัดการระบบนิเวศ • รักษาการควบคุมที่มีต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเอาไว้ • รักษา negative feedback controls (การควบคุมย้อนกลับแบบลบ) • การเชื่อมโยงระบบนิเวศ

  15. ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่าระบบนิเวศตามธรรมชาติเกิดการเปลี่ยนแปลงและจัดการโดยมนุษย์และมีผลต่อความยั่งยืนหลัก 3 ประการ คือ การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ที่มีความสำคัญในการจัดองค์กรในสังคมสิ่งมีชีวิต (community organization)

  16. การจัดองค์กรสังคมชีวิต (Community organization) • สังคมสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลาย แต่ละชนิดไม่ได้มีความสำคัญเท่าเทียมกันแม้ว่าบาทบาทหน้าที่จะเท่ากันก็ตาม สามารถแบ่งแยกได้เป็น • สิ่งมีชีวิตหลัก (keystone species) คือ สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทเป็นตัวตัดสินโครงสร้างของการจัดการองค์กรสังคมชีวิตตัวอย่าง • สิ่งมีชีวิตเด่น (Dominant species) คือ สิ่งมีชีวิตที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด • สิ่งมีชีวิตชี้บอก (indicator species) คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากมายเมื่อมีผลกระทบเกิดขึ้น จะสามารถใช้สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ บ่งบอกถึงความเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อสังคมชีวิตนั้น (จิรากรณ์ คชเสนีย์, 2544)

  17. Biodiversity and Conservation • Conservation-focus species • Umbrella species and Flagship species Umbrella species – are those whose occupancy area (plants) or home range (animals) are large enough and whose habitat requirements are wide enough that, if they are given a sufficiently large area for their protection, will bring other species under that protection

  18. Flagship species – are popular, charismatic species that serve as symbols and rallying points to stimulate conservation awareness and action. the large scale  Pandas, rhinos, large primate the smaller scales  Orchids, invertebrate, butterflies Flagship species may serve as both indicator and/or umbrella species

  19. Threatened species Threatened species – are species that are rare, often genetically improvised, of low fecundity, dependent on patchy or unpredictable resources, extremely variables in population density, persecuted, or otherwise prone to extinction in human-dominated.

  20. Number of Endangered and Extinct Animal Speciescompiled from the IUCN's Red ListCategories, 1996 ClassCritically endangered  endangered vulnerable   total threatened extinct Mammals 169 315 612 1,096 89 Birds   168 235 704 1,107 108 Reptiles   41 59 153 253 21 Amphibians   18 31 75 124 5 Insects   44 116 377 537 73 Other animals   471 423 1,194 2,088 343 http://darwin.bio.uci.edu/~sustain/bio65/lec01/b65lec01.htm#BIODIVERSITY_AND_CONSERVATION21

  21. การอนุรักษ์สปีชีส์ (species conservation) • การอนุรักษ์ภายในพื้นที่อาศัย(in situ conservation) • means "on-site conservation". It is the process of protecting an endangeredplant or animalspecies in its natural habitat, either by protecting or cleaning up the habitat itself, or by defending the species from predators. • การอนุรักษ์ภายนอกพื้นที่อาศัย (ex situ conservation) • literally, "off-site conservation". It is the process of protecting an endangered species of plant or animal by removing it from an unsafe or threatened habitat and placing it or part of it under the care of humans. While ex-situ conservation is comprised of some of the oldest and best known conservation methods known to man, it also involves newer, sometimes controversial laboratory methods

  22. การอนุรักษ์ภายในพื้นที่อาศัย (in situ conservation) • เป็นการอนุรักษ์ภายในถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอนุรักษ์ • มีข้อดี คือ เป็นการรักษาสภาพถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ และปกป้องกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในพื้นที่นั้นด้วย • การอนุรักษ์ทำได้โดยประกาศพื้นที่อนุรักษ์

  23. การอนุรักษ์สปีชีส์ (species conservation) (ต่อ) • การอนุรักษ์ภายนอกพื้นที่อาศัย (ex situ conservation) • ในกรณีที่สิ่งมีชีวิตหายากในพื้นที่สูญพันธุ์ไป • จึงนำเอาสิ่งมีชีวิตนั้นออกจากพื้นที่และนำมาเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์นอกพื้นที่อาศัยดั้งเดิม จากนั้นจึงนำกลับคืนสู่สภาพธรรมชาติภายหลัง • การอนุรักษ์ภายนอกพื้นที่อาศัย มีหลายรูปแบบด้วยกันซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่วัตถุประสงค์และชนิดของสิ่งมีชีวิตที่ต้องการอนุรักษ์

  24. สวนรุกขชาติ และสวนพฤกษศาสตร์ • สวนรุกขชาติ (aboretum) มุ่งเน้นการเพาะปลูกพืชที่มีอยู่ในท้องถิ่นและไม่มีการจัดระบบ เช่น การไม่มีการแบ่งสกลุของพืชที่นำมาเพาะปลูก และมุ่งเน้นการใช้พื้นที่เพื่อการพักผ่อนและความบันเทิง • สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical garden) มุ่งเน้นการศึกษาและการวิจัยในพืชที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ รวมทั้งวิธีการที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์ มีการจัดหมวดหมู่พืชที่แสดง

  25. ธนาคารเมล็ด • ธนาคารเมล็ด (Seed bank) เมล็ดพืชจะถูกเก็บรักษาเอาไว้ภายใต้อุณหภูมิต่ำเป็นระยะเวลานาน แล้วแต่ชนิดของพืช หลังจากนั้นนำมาปลูกเพื่อให้ผลิตเมล็ดรุ่นใหม่ออกมา เมล็ดรุ่นใหม่ที่ได้จะถูกเก็บรักษาต่อไป ข้อดี สามารถเก็บความหลากหลายทางพันธุกรรมพืชไว้ได้มากในพื้นที่ที่มีขนาดเล็ก ข้อเสีย มีพืชบางชนิดที่ไม่สามารถทนต่ออุณหภูมิต่ำได้ โดยเฉพาะพืชในเขตร้อนซึ่งอาจจะเหมาะกับเทคนิคอื่นๆ

  26. สวนสัตว์และสถานีเพาะพันธุ์สัตว์สวนสัตว์และสถานีเพาะพันธุ์สัตว์ • สัตว์ป่าที่หายากและใกล้สูญพันธ์จะถูกนำออกมาจากถิ่นที่อยู่อาศัยไปยังพื้นที่ใหม่ • การศึกษาเพื่อการอนุรักษ์และอาจมีการขยายพันธุ์ด้วย • การศึกษาเพื่อรวบรวมข้อมูลมาเพื่อการวางแผนอนุรักษ์ต่อไป เช่น การศึกษาการกินอาหาร การศึกษาเพื่อการผสมพันธุ์ เป็นต้น • ข้อดี • ให้ความบันเทิง • สร้างความตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต

  27. สวนสัตว์และสถานีเพาะพันธุ์สัตว์ (ต่อ) • ข้อจำกัด • การต้องการพื้นที่ขนาดใหญ่ ทำให้ไม่สามารถอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ได้จำนวนน้อย • หากประชากรมีจำนวนน้อยจะทำให้ความหลากหลายทางพันธุกรรมลดลง • สัตว์อาจได้รับความเครียด • โอกาสติดโรคสูงขึ้น และการกระจายของโรคมักจะเกิดขึ้นได้เร็ว เพราะว่าสัตว์อยู่ในพื้นที่แคบๆ • เทคนิคอื่นๆ ที่เป็นทางเลือกในกรณีพื้นที่จำกัด เช่น การแช่แข็งอสุจิ การผสมเทียม การย้ายฝากตัวอ่อน

  28. Socio-biological of captive breeding • Reintroduction • Choose a suitable site • Ecological condition • Security • Local Human resources • Logistics- transport and accommodation and stuff • Choosing animals • Genetics – degree of inbreeding health, reproductive condition from zoo • Non-variable wild populations in areas threatened by habitat destruction

  29. Socio-biological of captive breeding • Pre-release • Establish a breeding population in a small enclosed area in natural habitat to acclimatize them to the climate and vegetation • Establish social groups • Training to avoid predators and find food • Attach radio collar for tracking after release

  30. Socio-biological of captive breeding • After-release • Radio tracking • Habitat preference • Daily movement • Interaction with other species • Post release support e.g. extra food, artificial nest site, predator control, anti-poaching patrols

  31. Socio-biological of captive breeding • Reintroduction program-success in animals • Live in simple community, simple habitat • Easy to eat (simple diets) • Do not have to learn too much with mother

  32. Ecosystem Approach/managing ecosystem • An ecosystem approach to conservation is the management of natural resources using systemwide concepts to ensure that all plants and animals in the ecosystem are maintained at viable levels in native habitats and basic ecosystem processes are perpetuated indefinitely (Clark and Zaunbrecher, 1987). • Reserve selection • Centers of diversity

  33. The world Conservation Monitoring Center recognizes six basic categories of protected area • Category Ia Strict nature reserve : protected area managed mainly for science • Category Ib Wildness area : protected area managed mainly for wildness protection • Category II National Park : protected area managed mainly for ecosystem protection and recreation • Category III Natural monument: protected area managed mainly for conservation of specific natural features • Category IV Habitat/species management area : protected area managed mainly for conservation through management intervention • Category V Protected landscape/seascape : protected area managed mainly for landscape/seascape conservation and recreation • Category VI Managed resource protected area: protected area managed mainly for sustainable use of natural ecosystem.

  34. Biodiversity Hotspot / representative approach

  35. Reserve Design • A large reserve will hold more species • A single large reserve is preferable • If it necessary to have multiple small reserves, they should be close to one another to minimize isolation • Arranging small reserves in a cluster • Connecting the reserves w/ corridors will make dispersal within easier for many species • By making reserves as circular as possible

  36. วัตถุประสงค์ของการอนุรักษ์โดยการประกาศพื้นที่มีดังต่อไปนี้วัตถุประสงค์ของการอนุรักษ์โดยการประกาศพื้นที่มีดังต่อไปนี้ • เพื่อรักษาถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ • เพื่อให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในระบบนิเวศดังกล่าวยังคงสามารถมีการวิวัฒนาการเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง • เพื่อจัดสรรพื้นที่อย่างเหมาะสม เช่น ในบางพื้นที่อาจขออนุญาตให้มนุษย์เข้าไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ต้องไม่ทำให้เกิดการสูญเสียภายในพื้นที่ดังกล่าว • เป็นพื้นที่ที่ครอบคลุมตัวแทนจากระบบนิเวศชนิดต่างๆ ภายในพื้นที่นั้น

  37. ปัจจัยที่ควรคำนึงในการจัดการทำพื้นที่อนุรักษ์ปัจจัยที่ควรคำนึงในการจัดการทำพื้นที่อนุรักษ์ • ขนาดพื้นที่ที่เหมาะสม • พื้นที่อนุรักษ์แต่ละแห่งควรเชื่อมต่อกัน โดยทางเชื่อม ซึ่งทำหน้าที่เหมือนสะพานเชื่อมพื้นที่อนุรักษ์แต่ละแห่งเข้าด้วยกัน • พื้นที่อนุรักษ์ควรมีรูปร่างใกล้เคียงกับวงกลมมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เนื่องจากพื้นที่วงกลมมีพื้นที่ขอบน้อยกว่ารูปทรงอื่นๆ • การกำหนดเขตฉนวน (buffer zone)

  38. แบบแผนชีวภูมิศาสตร์ • ทฤษฎีเกาะ (Island Biogeography Theory) • Distant theory • Area theory

  39. ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ขนาดเล็กและขนาดใหญ่

  40. ขนาดและรูปร่างของพื้นที่อนุรักษ์ขนาดและรูปร่างของพื้นที่อนุรักษ์

  41. การจัดการถิ่นที่อยู่อาศัย (Habitat Management) • วัตถุประสงค์ของการจัดการถิ่นที่อยู่ • เพื่อจัดสภาพถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับสิ่งมีชีวิต ซึ่งได้รับการคุกคามอย่างรุนแรงจนถึงสูญพันธุ์ • เพื่อรักษา/เพิ่ม ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่อนุรักษ์

  42. การจัดการถิ่นที่อยู่อาศัย (Habitat Management) (ต่อ) • การจัดการถิ่นที่อยู่อาศัยมักจะกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ • ป้องกันระบบนิเวศที่สมดุลกลับคืนไปสู่ยุคเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Preventing a climax ecosystem for reverting to an earlier seral stage e.g. protecting primary forest form logging or fire) • ทำการรบกวนภาวะสมดุลของระบบนิเวศเพื่อที่จะสร้างยุคเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ (Disturbing climax ecosystem to create early seral stage ecosystems) • เร่งการเปลี่ยนแปลงแทนที่โดยการจัดการยุคต่างๆ ไปจนถึงจุดสมดุล (Accelerating succession by manipulating early seral stage, ecosystems towards the climax ecosystems)

  43. องค์กรในการอนุรักษ์ต่างๆ • ระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ • มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ • มูลนิธิสืบนาคะเสถียร • The International Union fro Conservation of Nature and Natural Resources (IUCN) • World Wild Fund for Nature (WWF) • Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora : CITES • Convention on Biological Diversity (CBD)

  44. Principle of Ecosystem Restoration • การฟื้นฟูระบบนิเวศ คือ การเร่งระบวนารตามธรรมชาติเพื่อทำให้พัฒนาการของระบบนิเวศเกิดขึ้นเร็วกว่าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ทำให้ระบบนิเวศกลับมาทำหน้าที่ได้ตามปกติอีกครั้งหนึ่ง (โดยอาศัยพื้นฐานความเข้าใจและการใช้ประโยชน์จากกลไกการควบคุมย้อนกลับแบบบวก)

  45. คำถามสำคัญสำหรับการฟื้นฟูระบบนิเวศคำถามสำคัญสำหรับการฟื้นฟูระบบนิเวศ • มีความจำเป็นอะไรที่จะต้องฟื้นฟูระบบนิเวศนี้ • การฟื้นฟูระบบนิเวศนี้เกี่ยวข้องอย่างไรกับปัญหาสิ่งแวดล้อม • ระบบนิเวศที่ทำการฟื้นฟูนี้มีบทบาทสำคัญต่อารอนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัย การอนุรักษ์สิ่งมีชีวิตที่หายากหรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์และความหลากหลายทางชีวภาพทั่วไปอย่างไร • การฟื้นฟูสามารถทำให้ระบบนิเวศกลับคืนสู่สถานะที่สิ่งมีชีวิตที่เป็นองค์ประกอบครบถ้วนหรือไม่ • ภายใต้สภาวะเช่นใดจึงสามารถฟื้นฟูระบบนิเวศให้กลับมาอยู่ในสถานะที่มีสิ่งมีชีวิตที่เป็นองค์ประกอบครบถ้วนเหมือนเดิม • สังคมเต็มใจที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อโครงการฟื้นฟูนั้นๆ หรือไม่ • การฟื้นฟูระบบนิเวศนั้นต้องให้ความสำคัญและกระตุ้นปฏิสัมพันธ์ใดในระบบ • การฟื้นฟูระบบนิเวศให้คุณค่าต่อสังคมและธรรมชาติอย่างไร

  46. บทบาทหน้าที่ของระบบนิเวศบทบาทหน้าที่ของระบบนิเวศ • การฟื้นฟูระบบนิเวศให้กลับเข้าสู่สภาพเดิม (Restoration) • การปรับปรุงให้ดีขึ้น (Rehabilitation) • การแทนที่ (Replacement) ระบบนิเวศอื่น ระบบนิเวศเริ่มต้น การฟื้นฟูให้เหมือนเริ่มต้น การปรับปรุงสภาพ (การฟื้นฟูบางส่วน) มวลชีวภาพและปริมาณสารอาหาร ไม่มีปฏิบัติการ (ระบบนิเวศฟื้นฟูด้วยตนเอง) ระบบนิเวศเสื่อมโทรม ไม่มีปฏิบัติการ (ระบบนิเวศเสื่อมโทรม เวลา โครงสร้างระบบนิเวศ

  47. ขั้นตอนในการฟื้นฟูระบบนิเวศขั้นตอนในการฟื้นฟูระบบนิเวศ ตัวอย่างการแก้ไขปัญหาระบบนิเวศป่าไม้ • การแก้ไขปัญหาทางกายภาพของดิน • การแก้ไขปัญหาทางเคมีของดิน • การฟื้นฟูโครงสร้างสังคมสิ่งมีชีวิต • การฟื้นฟูปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการของระบบนิเวศ (จิรากรณ์ และนันทนา, 2552)

  48. ตัวอย่าง หน่วยวิจัยฟื้นฟูป่า (http://www.forru.org/) • pilot species concept

More Related