1 / 21

ผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสม

ผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสม. - กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS) -Acute STEMI-. อาการเจ็บหน้าอก ? ระยะเวลาเจ็บหน้าอกนาน ? การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด ? - เวลาตั้งแต่เจ็บอกจนถึงเริ่มให้ยา

suchi
Download Presentation

ผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสมผู้ป่วยอายุรกรรมที่อยู่ในภาวะวิกฤตไม่ได้รับการดูแลรักษาได้ทันท่วงทีและเหมาะสม - กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน • Acute coronary syndrome (ACS) -Acute STEMI-

  2. อาการเจ็บหน้าอก ? • ระยะเวลาเจ็บหน้าอกนาน ? • การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด ? - เวลาตั้งแต่เจ็บอกจนถึงเริ่มให้ยา - เวลาที่เหมาะสมเมื่อผู้ป่วยมาถึง รพ.

  3. Acute coronary syndrome(ACS) -กลุ่มอาการที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน -มีการปริแตกของคราบไขมัน(artherosclerotic plaque) ที่ก่อตัวสะสมเกาะอยู่ตามผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่ เป็นผลให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือด ทำให้การไหลเวียนในหลอดเลือดลดลงอย่างรุนแรง -แบ่งตามลักษณะการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

  4. กลุ่มที่มี ST segment ยกสูงขึ้น หรือ ST elevation acute coronary syndrome

  5. 2. กลุ่มที่ไม่มี ST segment ยกสูงขึ้นหรือNon ST elevation ACS -ECG ปกติหรือ ST segment ลดต่ำลง หรือพบ T wave หัวกลับ

  6. Pathophysiology of ACS Subtotal artery occlusion Complete total occlusion Non ST elevation ACS (UA/NSTEMI) ST elevation ACS (AMI)

  7. Chest pain Goal = 10 min Assess 12 lead ECG Initial assesment • Hx • PE • EKG and EKG monitoring • CXR Non Cardiac Diagnosis Chronic Stable Angina Possible ACS Definite ACS

  8. Lives saved per 1000 patients with fibrinolytic therapy 40 30 20 10 0 0-1 2-3 4-6 7-12 Hours

  9. Door to Needle Time and Mortality In hospital mortality (%) Door to Balloon Time and Mortality

  10. Importance of Time-to-Treatment: Mortality at 6 Months in 10 RCT’s Meta-analysis Intermediate 2-4 h Early <2 h Late >4 h % n=414 n=424 n=512 n=523 n=297 n=315 Zijlstra at al. EHJ 2002

  11. ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ • ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า • ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา – Major bleeding • ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง • ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน

  12. วิเคราะห์สาเหตุและมาตรการป้องกันวิเคราะห์สาเหตุและมาตรการป้องกัน

  13. ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้าผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า เหตุจาก • การวินิจฉัยล่าช้า – อาการไม่ชัดเจน, การแปลผล EKG ไม่ถูกต้อง, ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยมีหลากหลาย • ไม่มีแนวทางการดูแลรักษาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • การตัดสินใจของผู้ป่วยและญาติล่าช้าหลังได้รับข้อมูลจากแพทย์หรือไม่อาจตัดสินใจได้ จำเป็นต้องรอการตัดสินใจรักษาจากผู้ที่เป็นผู้นำความคิด ซึ่งไม่ได้อยู่รับฟังโดยตรง

  14. ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า-ต่อผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า-ต่อ 4. การบริหารยาล่าช้า 5. ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลล่าช้า 6. ผู้ป่วยส่งต่อจากโรงพยาบาลชุมชนล่าช้า 7. ผู้ป่วยตัดสินใจเข้ารับการรักษาล่าช้า

  15. มาตรการป้องกัน • ให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ที่ดูแลผู้ป่วย • จัดทำ Care Map – ACS • ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจนแก่ผู้ป่วยและญาติ • ประสานงานกับห้องจ่ายยาในการบริหารยาที่รวดเร็ว • จัดโครงการให้ความรู้กับประชาชนวันหัวใจโลกทางวิทยุกระจายเสียง • ประสานงานและให้ความรู้กับโรงพยาบาลชุมชน

  16. เกิด Major bleeding เหตุจาก • ผู้ป่วยอาจจะมีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกอยู่แล้ว แต่ไม่ได้หาข้อมูล • เมื่อเกิดภาวะเลือดออกให้การดูแลรักษาล่าช้า

  17. มาตรการป้องกัน • มีการ check list ก่อนใช้ยา โดยผู้ป่วยต้องมีเกณฑ์ครบทุกข้อ จึงจะได้รับยา • มีขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่ก่อนให้ยาและเมื่อเกิดปัญหามีการเตรียมความพร้อมสำหรับการรักษา

  18. ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญของโรคนี้ • ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดช้า • ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยา – Major bleeding • ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่รุนแรง • ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหัน

  19. มาตรการป้องกัน • รับผู้ป่วยไว้รักษาใน ICU เพื่อติดตามใกล้ชิด – monitor ตลอดเวลา • เตรียมความพร้อมของเครื่องมือ/อุปกรณ์ เพื่อใช้ได้ทันที เช่น - เครื่อง Defibrillator - External pacemaker - รถ emergency - ยาจำเป็น – antiarrhythmic - เตรียมบุคลากร -จัดอบรม CPRครบ 100%

  20. เครื่องชี้วัด • ระยะเวลาตั้งแต่มีอาการจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด < 12 ชั่วโมง • ระยะเวลาที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด < 30 นาที • อัตราการเกิดเลือดออกผิดปกติที่รุนแรงในผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด

More Related