1 / 57

The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. การบริหารสัญญาและหลักประกัน เทคนิคการตรวจรับ ตรวจการจ้าง และการควบคุมงาน. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ 0 2298 6300-4. The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง. สัญญา.

steven-wall
Download Presentation

The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • การบริหารสัญญาและหลักประกัน • เทคนิคการตรวจรับ ตรวจการจ้าง • และการควบคุมงาน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจ้างภาครัฐ0 2298 6300-4 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง

  2. สัญญา สัญญาหมายถึง การใด อันได้กระทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งเน้นโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ

  3. ประกาศ ซื้อจ้าง ใบเสนอราคา การพิจารณา รับราคาของ ภาครัฐ สัญญา เอกสาร ส่วนที่ 1,2 การเกิดสัญญาระหว่างภาครัฐกับเอกชน คำเชิญชวน คำเสนอ คำสนอง

  4. สาระสำคัญของใบเสนอราคา สาระสำคัญของใบเสนอราคา เมื่อ“ใบเสนอราคา” เป็น “คำเสนอ” จึงมีผลทางกฎหมาย ดังนี้ • ใบเสนอราคาต้องมีความชัดแจ้ง • **กล่าวคือ ต้องเสนอเพียงราคาเดียว จะเสนอราคาเผื่อเลือก หรือ • เสนอราคา 2 ราคา ไม่ได้ • ** หากเสนอราคาในลักษณะดังกล่าว ถือเป็นการผิดเงื่อนไข • ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญส่วนราชการไม่มีสิทธิพิจารณา • รับราคา

  5. สาระสำคัญของใบเสนอราคาสาระสำคัญของใบเสนอราคา • กรณีมีการลดราคา มีแนวทางในการพิจารณาตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 307 ลว. 30 ก.ย. 46 - ต้องมีข้อความว่า “ยินดีลดราคา” หรือข้อความทำนองเดียวกัน และ - ต้องมีตัวเลขและตัวอักษรตรงกัน หรือต้องมีข้อความว่า ยินดีลดราคาลงกี่เปอร์เซ็นต์หรือร้อยละเท่าไร และ - ผู้เสนอราคาต้องลงชื่อพร้อมประทับตรา (ถ้ามี) ตรงข้อความยินดีลดราคา **ต้องยื่นพร้อมกับซองใบเสนอราคา ไม่ว่าข้อความจะอยู่ในใบเสนอราคา หรือ จัดทำขึ้นมาอีกใบหนึ่งก็ตาม**

  6. ใบเสนอ ราคา สาระสำคัญของใบเสนอราคา 2. ต้องกรอกรายละเอียดที่สำคัญให้ครบถ้วนตามเงื่อนไขในประกาศฯ เช่น 2.1 ราคาที่เสนอ เป็นราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ (ถ้ามี) รวมค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้ด้วยแล้ว 2.2 กำหนดยืนราคา 2.3 กำหนดส่งมอบสิ่งของ หรือ งานจ้าง 2.4 กรณีมีขูด ลบ ตก เติม 3. ต้องลงนามโดยผู้มีอำนาจลงนามผูกพัน

  7. สาระสำคัญของใบเสนอราคาสาระสำคัญของใบเสนอราคา 4. ซองใบเสนอราคา ต้องปิดผนึกซองเรียบร้อย จ่าหน้าซองถึง 4.1 สอบราคา - ประธานคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา 4.2 ประกวดราคา - ประธานคณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา ระบุหน้าซองว่า ใบเสนอราคาตามเอกสารสอบ/ประกวดราคา เลขที่ ....... 5. ผู้เสนอราคาต้องรับผิดชอบราคาที่ตนได้เสนอไว้ และจะถอนการเสนอราคาไม่ได้ หากถอนการเสนอราคาก่อนครบกำหนดยืนราคา จะถูกยึดหลักประกันซอง

  8. รูปแบบของสัญญา 1. เต็มรูป (ข้อ 132) 1.1 ทำสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด 1.2 มีข้อความแตกต่าง เสียเปรียบ/ไม่รัดกุม 1.3 ร่างใหม่ 2. ลดรูป (ข้อ 133)ข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง) 2.1 ตกลงราคา 2.2 ส่งของภายใน 5 วันทำการ 2.3 กรณีพิเศษ 2.4 การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ (บางกรณี) 3. ไม่มีรูป (ข้อ 133 วรรคท้าย) 3.1 ไม่เกิน 10,000 บาท 3.2 ตกลงราคา กรณีเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้ ส่ง สนง.อัยการสูงสุดพิจารณา

  9. การทำสัญญา(ตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด) • การกำหนดเงื่อนไข • การกำหนดข้อความหรือรายการที่แตกต่าง • จากตัวอย่างของกวพ. • การร่างสัญญาใหม่ • การทำสัญญาเช่า ที่ต้องผ่าน สนง. อัยการ

  10. เงื่อนไขที่สำคัญของสัญญาเงื่อนไขที่สำคัญของสัญญา 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จำนวน ราคา2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า (ข้อ 68) 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การประกันความชำรุดบกพร่อง

  11. หลักทำเป็นบันทึกข้อตกลงได้ กรณีดังนี้ ซื้อ / จ้าง แลกเปลี่ยน โดยวิธีตกลงราคา หรือ การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลงในวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท คู่สัญญาส่งของได้ครบถ้วน ภายใน 5 วันทำการ นับจากทำข้อตกลง การซื้อ / จ้าง โดยวิธีพิเศษตามข้อ 23 (1)-(5) หรือ 24 (1)-(5) การเช่าที่ไม่ต้องเสียเงินอื่นใดนอกจากการเช่า ข้อยกเว้นการจัดหาวงเงินไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือ การซื้อ/จ้าง โดยวิธี ตกลงราคากรณีจำเป็นเร่งด่วน ตามข้อ 39 วรรคสอง กรณีทำข้อตกลงเป็นหนังสือ (ข้อ133)

  12. กรณีซื้อ /จ้าง ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – 0.20 ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท การจ้างที่ปรึกษา ปรับรายวันในอัตรา/จำนวนตายตัว ร้อยละ 0.01 – 0.10 การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ134)

  13.  ซื้อ/จ้าง จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจจ่ายได้ 50 %  ซื้อจากต่างประเทศจ่ายตามที่ผู้ขายกำหนด  การบอกรับวารสาร,/สั่งจองหนังสือ/จ่ายเท่าที่จ่ายจริง ซื้อข้อมูล E /บอกรับสมาชิกInternet ซื้อ/จ้าง วิธีสอบราคา/ประกวดราคา จ่ายได้ 15% (ต้องกำหนดเงื่อนไขไว้ในประกาศด้วย) ซื้อ/จ้าง โดยวิธีพิเศษจ่ายได้ 15% การจ่ายเงินล่วงหน้าที่กำหนดในสัญญา (ข้อ 68)

  14. การจ่ายเงินล่วงหน้า กรณีสอบราคา/ประกวดราคา/วิธีพิเศษ ต้องวางหลักประกันการจ่ายล่วงหน้าเป็น - พันธบัตรรัฐบาลไทย หรือ - หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ยกเว้นการจ่ายเงินล่วงหน้าค่าซื้อพัสดุ จากต่างประเทศ ค่าบอกรับวารสารฯไม่ต้องเรียกหลักประกัน การจ่ายเงินล่วงหน้าต้องวางหลักประกัน (ข้อ 70)

  15. หลักประกัน (ข้อ 141) หลักประกันสัญญา หลักประกันซอง • เงินสด • เช็คที่ธนาคารสั่งจ่าย • หนังสือค้ำประกัน ธ • หนังสือค้ำประกัน บ • พันธบัตรรัฐบาล • หลักประกันที่ใช้กับสัญญา • หนังสือค้ำประกันธนาคาร • ต่างประเทศ (กรณีประกวด • ราคานานาชาติ)

  16. มูลค่าหลักประกัน • ร้อยละ 5ของวงเงิน / ราคาพัสดุ ที่จัดหาในครั้งนั้น • เว้นแต่ การจัดหาที่สำคัญพิเศษ กำหนดสูงกว่าร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 * กรณีส่วนราชการ / รัฐวิสาหกิจ เป็นคู่สัญญา / ผู้เสนอราคา ไม่ต้องวางหลักประกัน (ข้อ 143) การคืนหลักประกัน (ข้อ 144) ซอง คืนภายใน 15 วัน นับแต่วันพิจารณาเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว สัญญา คืนโดยเร็ว / อย่างช้าไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่คู่สัญญา พ้นข้อผูกพันแล้ว

  17. การนำหลักประกันซองมากกว่า ๑ อย่าง มารวมกันเพื่อใช้เป็นหลักประกันซองในงานจ้างเหมาเดียวกัน ได้หรือไม่ กวพ. วินิจฉัย * ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๔๑ กำหนดว่า “หลักประกันซองหรือหลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด” เจตนารมณ์ตามระเบียบฯ ให้เลือกหลักประกันอย่างใดก็ได้ ดังนั้น หากใช้หลักประกันตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๑๔๑ รวมกัน ก็ย่อมกระทำได้

  18. การใช้พันธบัตรรัฐบาลเป็นประกันการใช้พันธบัตรรัฐบาลเป็นประกัน 1. ผู้ประสงค์จะใช้พันธบัตรรัฐบาลไปจดทะเบียนในการเป็นหลักประกัน ที่ธปท. (กค 0502/38308 ลว. 27 ก.ย. 25) หรือ 2. ส่วนราชการมีหนังสือแจ้ง ธปท. (กค 0507/48405 ลว. 27 ก.ย. 26) 3. ชื่อผู้ถือครองพันธบัตร ไม่ตรงกับ ชื่อผู้เสนอราคา ต้องมีหนังสือยินยอม

  19. การนำหลักประกันซองมาเป็นหลักประกันสัญญาการนำหลักประกันซองมาเป็นหลักประกันสัญญา หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0408.4/ว 130 ลว. 20 ต.ค. 49 1. ให้เฉพาะหลักประกันซอง -เงินสด และ - เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย 2. ผู้เสนอราคาที่ได้รับคัดเลือกให้ทำสัญญาประสงค์จะนำใช้หลักประกันตามข้อ 1 มาเป็นหลักประกันสัญญา 3. ส่วนราชการต้องจัดให้มีการทำหลักฐาน การคืนหลักประกันซอง – การวางหลักประกันสัญญา ให้เสร็จภายในวันเดียวกันกับวันทำสัญญา 4. คู่สัญญาต้องนำหลักประกันซอง (เพิ่ม-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา นำเข้าบัญชีเงินฝากประเภทเงินนอกฯ แล้ว

  20. เทคนิค • การตรวจรับพัสดุ • การตรวจการจ้าง • และการควบคุมงาน

  21. รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง (ข้อ 27) หลักการ ** ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** รายละเอียดของรายงาน - เหตุผลความจำเป็น - รายละเอียดของพัสดุ - ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี - วงเงินที่จะซื้อ/จ้าง - กำหนดเวลาที่ต้องใช้ - วิธีจะซื้อ/จ้าง • - ข้อเสนออื่นๆ * การแต่งตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ

  22. คณะกรรมการตรวจรับพัสดุคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ระเบียบ 35 ข้อ 71 งานซื้อ งานจ้างทั่วไป (ทำความสะอาด . รปภ . ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ) คณะกรรมการตรวจการจ้าง งานจ้างก่อสร้าง ระเบียบ 35 ข้อ 72

  23. หลักเกณฑ์การตรวจรับ/ตรวจการจ้างหลักเกณฑ์การตรวจรับ/ตรวจการจ้าง หลักการ คณะกรรมการตรวจรับ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ยกเว้น ซื้อหรือจ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท แต่งตั้งข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ ซึ่งไม่ใช่ผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็น “ผู้ตรวจรับ” “การตกลงราคา” กรณีจำเป็นและเร่งด่วน ใช้ “รายงานขอความเห็นชอบ” เป็น “หลักฐานการตรวจรับ” โดยอนุโลม

  24. องค์ประกอบคณะกรรมการตรวจรับ/ตรวจการจ้างองค์ประกอบคณะกรรมการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง • - ประธาน 1 คน • กรรมการ อย่างน้อย 2 คน • -แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ • - โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบเป็นสำคัญ • กรณีจำเป็น แต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการ • ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้งๆ ไป** • (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

  25. ข้อห้าม • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา เป็น กรรมการพิจารณาผล • การประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือ พิจารณาผล • การประกวดราคา เป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ

  26. องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นข้าราชการเท่านั้นหรือไม่องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นข้าราชการเท่านั้นหรือไม่ หลักการ • ประธาน / กรรมการต้องเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ • ผู้ตรวจรับข้าราชการ / ลูกจ้างประจำ กรณีซื้อ / จ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท กวพ. ยกเว้น ตามหนังสือ กค (กวพ) 0408.4/ว 155 ลว. 1 พ.ค. 50 • มหาวิทยาลัย ให้พนักงานมหาวิทยาลัยเป็น ผู้ตรวจรับได้ • ส่วนราชการอื่น ให้พนักงานราชการเป็นผู้ตรวจรับได้

  27. การผ่อนผันการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง หรือผู้ควบคุมงาน หนังสือ ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 341 ลว. 20 ก.ย. 53 อนุมัติหลักการ ผ่อนผันให้ส่วนราชการแต่งตั้งพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ที่มีความรู้ ความสามารถในการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง หรือควบคุมงาน เป็น ผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง หรือผู้ควบคุมงาน แล้วแต่กรณี ถือปฏิบัติตามระเบียบฯ ข้อ 35 วรรคท้าย และข้อ 37 ด้วย

  28. การอนุมัติให้แต่งตั้งลูกจ้างประจำเป็นกรรมการการอนุมัติให้แต่งตั้งลูกจ้างประจำเป็นกรรมการ หนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0421.3/ว 417 ลว. 22 ต.ค. 53 อนุมัติให้ส่วนราชการแต่งตั้งลูกจ้างประจำเป็นกรรมการตามระเบียบ 35 - ข้อ 32 ข้อ 35 ข้อ 80 ข้อ 101 และ ข้อ 116 ** ต้องคำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ **

  29. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ - ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง องค์ประชุม - ถือเสียงข้างมาก - ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียง เพิ่มอีก 1 เสียง มติกรรมการ ยกเว้น - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ต้องใช้มติเอกฉันท์

  30. การตรวจรับพัสดุ ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ 71 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ สถานที่ตรวจรับ :- • ตรวจรับพัสดุ ณ • ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ • สถานที่ที่กำหนดในสัญญา / ข้อตกลง • สถานที่อื่น ที่มิได้มีสัญญา / ข้อตกลง • * ต้องได้รับอนุมัติจาก หัวหน้าส่วนราชการก่อน

  31. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) หลักเกณฑ์การตรวจรับ :- • ตรวจให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่ตกลง • ถ้าต้องตรวจทดลอง หรือตรวจทางเทคนิค/ วิทยาศาสตร์ • จะเชิญผู้เชี่ยวชาญ/ ผู้ทรงคุณวุฒิมาให้คำปรึกษา/ หรือส่งไป • ตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชำนาญการ หรือผู้ทรงคุณวุฒิก็ได้ • กรณีจำเป็น • ตรวจนับเป็นจำนวนหน่วยไม่ได้ทั้งหมด • ให้ตรวจรับทางวิชาการหรือสถิติ

  32. การตรวจรับงานที่ไม่ชอบด้วยระเบียบการตรวจรับงานที่ไม่ชอบด้วยระเบียบ • ผู้รับจ้างทำงานตามสัญญาครบถ้วนแล้ว • ส่วนราชการให้ผู้รับจ้างทำงานอย่างอื่นที่มิได้มีในสัญญาจ้างแทน • คณะกรรมการตรวจการจ้าง ได้ร่วมกันตรวจรับงานว่า เป็นการ • ถูกต้องตามสัญญาจ้าง • นร (กวพ) 1002/ว 13 ลว. 3 มี.ค. 31 ถือว่าตรวจรับงานฝ่าฝืนระเบียบ และ ....... ...... เข้าลักษณะทำรายงานเท็จ

  33. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) ระยะเวลาตรวจรับ • ปกติ • ตรวจวันที่ผู้ขาย หรือผู้รับจ้างนำพัสดุมาส่ง • ตรวจให้เร็วที่สุด กรณีตรวจรับถูกต้อง • รับพัสดุไว้ ถือว่าผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ส่งมอบถูกต้องครบถ้วนวันที่นำพัสดุ • มาส่งมอบ • ทำใบตรวจรับอย่างน้อย 2 ฉบับ • (ให้ผู้ขาย 1 เจ้าหน้าที่พัสดุ 1 เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน ) • รายงานผลให้ หัวหน้าส่วนราชการทราบ

  34. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ)  ไม่ถูกต้องในรายละเอียด * รายงานหัวหน้าส่วนราชการทราบเพื่อสั่งการทันที กรณีตรวจรับไม่ถูกต้อง กรณีถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน/ หรือครบ แต่ไม่ถูกต้องทั้งหมด • * ให้รับเฉพาะที่ถูกต้อง • มอบของให้เจ้าหน้าที่พัสดุ • ทำใบตรวจรับ 2 ฉบับ ส่งผู้ขาย & จนท.พัสดุ • รีบรายงาน หัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันตรวจพบ • * สงวนสิทธิ์ปรับ (ส่วนที่ส่งไม่ถูกต้อง)

  35. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) กรณีพัสดุเป็นชุด / หน่วย ให้ดูว่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ง จะใช้การไม่ได้อย่างสมบูรณ์ * ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ * รีบรายงาน หัวหน้าส่วนราชการทราบภายใน 3 วันทำการ นับแต่ตรวจพบ

  36. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุที่ซื้อขายเป็นชุดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับพัสดุที่ซื้อขายเป็นชุด นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 18 พ.ย. 28 1. คกก. ตรวจรับ มีหน้าที่ต้องตรวจรับ ในวันที่ผู้ขายส่งมอบ 2. ถ้าส่งมอบไม่ครบ โดยขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป ทำให้ไม่สามารถใช้สิ่งของนั้นได้ โดยสมบูรณ์ ให้ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ และให้ คกก. ตรวจรับ มีหน้าที่รายงานความบกพร่อง เพื่อแจ้งผู้ขาย ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันพบเห็นความบกพร่อง 3. เมื่อครบกำหนดส่งมอบ ถ้าผู้ขายยังไม่ส่งส่วนที่ขาด และหน่วยงานยังไม่บอกเลิกสัญญา ให้รีบแจ้งสงวนสิทธิการเรียกค่าปรับ นร (กวพ) 1002/ว 17 ลว. 4 เม.ย. 31 1. สัญญาซื้อขายหรือเช่าพัสดุเป็นชุด และ ต้องตรวจรับเป็นชุด 2. ผู้ขายหรือผู้ให้เช่า นำพัสดุบางส่วนมาส่งมอบไว้ก่อน 3. ห้าม นำพัสดุส่วนนั้นไปใช้ ก่อนการตรวจรับ เว้นแต่ มีความจำเป็น จะต้องทำการแก้ไข เปลี่ยนแปลงสัญญา ตาม ข้อ 136 โดยตกลงเรื่องราคา/ค่าเช่า และ ค่าปรับ ก่อนที่จะแยก ตรวจรับเฉพาะส่วน

  37. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ (ต่อ) กรรมการตรวจรับบางคนไม่ยอมรับพัสดุ • ให้ทำความเห็นแย้งไว้ • ถ้า หัวหน้าส่วนราชการ สั่งการให้รับทราบพัสดุไว้ • * ให้ดำเนินการออกใบตรวจรับให้ผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง • และ จนท.พัสดุ

  38. หน้าที่ของผู้ควบคุมงานจ้างหน้าที่ของผู้ควบคุมงานจ้าง  ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ 73 • ตรวจตามรูปแบบ รายการละเอียด ข้อตกลงในสัญญาทุกวัน • มีอำนาจ • สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม ตัดทอน เฉพาะกรณี เพื่อให้เป็นไปตามสัญญาและหลักวิชาการช่าง • ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ทำ • ให้สั่งหยุดงานเฉพาะส่วน /ทั้งหมดไว้ก่อน จนกว่าจะยอมปฏิบัติตาม • รีบรายงานคณะกรรมการตรวจงานจ้างทันที

  39. หน้าที่ของผู้ควบคุมงานจ้าง (ต่อ) • จดบันทึกเป็นรายวัน ดังนี้ • สภาพการปฏิบัติงาน / เหตุการณ์แวดล้อม/ • ผลการปฏิบัติงาน /การหยุดงาน/ สาเหตุหยุดงาน / • วัสดุที่ผู้รับจ้างใช้ • รายงาน คกก. ตรวจงานจ้างทุกสัปดาห์ • เก็บรายงานไว้ เพื่อมอบให้ จนท.พัสดุ เมื่อเสร็จงาน แต่ละงวด • ถือเป็นเอกสารสำคัญ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ

  40. หน้าที่ของผู้ควบคุมงานจ้าง (ต่อ) • เมื่อถึงวันกำหนดลงมือทำงานของผู้รับจ้าง หรือ วันกำหนดส่งมอบงานแต่ละงวด • ให้รายงานผลการทำงานของผู้รับจ้าง ว่าเป็นไปตาม สัญญาหรือไม่ • ต่อ คกก.ตรวจงานจ้างทราบ ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันถึงกำหนดนั้น ๆ

  41. การตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้างการตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้าง  ระเบียบฯ พัสดุ ข้อ 72 หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ตรวจรายงานของผู้ควบคุมงาน • ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง • ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดตามที่ระบุในสัญญาทุกสัปดาห์ • รับทราบการสั่งการของผู้ควบคุมงาน กรณีสั่งผู้รับจ้างหยุดงาน พักงาน • แต่ต้องรายงาน หัวหน้าส่วนราชการสั่งการ

  42. การตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้างการตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้าง กรณีมีข้อสงสัยเห็นว่าไม่น่าจะเป็นตามหลักวิชาการ • ให้ออกตรวจสถานที่ที่จ้าง • ให้มีอำนาจ • สั่งเปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน งานจ้างได้ เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ /รายการ / ข้อตกลง • ตรวจผลงานที่ส่งมอบ • ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันประธานกรรรมการรับทราบ การส่งมอบงาน • ตรวจให้เสร็จโดยเร็วที่สุด

  43. การตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้างการตรวจการจ้างและการควบคุมงานก่อสร้าง กรณีตรวจถูกต้อง • ทำใบรับรองผลการปฏิบัติงาน • ทั้งหมด / เฉพาะงวด • มอบให้ผู้รับจ้าง , จนท.พัสดุ • รายงาน หส.ราชการ ผู้ว่าจ้างทราบ กรณีตรวจพบว่าไม่ถูกต้อง • ทั้งหมด / เฉพาะงวดใด • ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการทราบ ผ่าน จนท.พัสดุ เพื่อสั่งการ • ถ้าหัวหน้าส่วนราชการสั่งให้รับไว้ ให้ทำใบรับรองผลการปฏิบัติงานได้ • หากมติกรรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน ให้ทำความเห็นแย้งไว้

  44. นร (กวพ) 1002/ว 9 ลว. 4 เม.ย.33 - ให้ หน.ส่วนราชการหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้ง กำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานทุกครั้ง - ให้ คกก.ตรวจรับ / ตรวจการจ้าง รายงานภายในกำหนด + ถ้าล้าช้า ให้ขอขยาย นร 1305/ว 5855 ลว. 11 ก.ค. 44 + สร 1001/ว 35 ลว. 30 ธ.ค. 25 ระยะเวลาตรวจรับพัสดุ ระยะเวลาตรวจการจ้าง ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ ระยะเวลาเริ่มตรวจ ระยะเวลาการตรวจ วันที่ส่งมอบ ให้เสร็จสิ้น โดยเร็วที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการ ภายใน 3 วันทำการ ตารางถัดไป กำหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง

  45. งานจ้างก่อสร้างแบบราคาเหมารวม (Lump Sum) ราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง งวดงาน งวดสุดท้าย งวดงาน งวดสุดท้าย ทุกราคาค่างาน 3 วัน 3 วัน 3 วัน 5 วัน งานจ้างก่อสร้างแบบราคาต่อหน่วย (Unit Cost) ราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด ครั้งสุดท้าย รายงวด ครั้งสุดท้าย ไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่เกิน 60 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท เกิน 100 ล้านบาทขึ้นไป 4 วัน 8 วัน 12 วัน 16 วัน 8 วัน 12 วัน 16 วัน 20 วัน 3 วัน 3 วัน 3 วัน 3 วัน 5 วัน 5 วัน 5 วัน 5 วัน กำหนดระยะเวลาในการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง วันทำการ วันทำการ ** ทำไม่เสร็จภายในกำหนด ให้รายงาน หน.ส่วนราชการ + สำเนาแจ้งคู่สัญญาทราบ **

  46. การรับงานแต่ละงวด ตาม “สัญญาจ้าง” การตรวจรับงานแต่ละงวด ตาม “สัญญาจ้าง” เพื่อออกใบตรวจรับงานจ้าง ให้ผู้รับจ้างไว้เป็นหลักฐาน เพื่อนำมาเบิกเงินค่าจ้าง ไม่ใช่การตรวจรับงานจ้าง ในงวดนั้น ไว้ใช้ในราชการ เมื่อมีอันตรายหรือความเสียหายเกิดแก่งานจ้าง แม้เกิดจาก “เหตุสุดวิสัย” ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบ โดยจัดหามาใหม่หรือแก้ไขซ่อมแซมให้คืนดี สร 1001/ว 28 ลว 18 พ.ย. 25

  47. เมื่อครบกำหนดสัญญา / ยังไม่มีการส่งมอบต้อง “แจ้งการเรียกค่าปรับ”ตามสัญญาหรือข้อตกลง คิดค่าปรับนับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง “สงวนสิทธิ์ปรับ” เมื่อส่งมอบของ/งาน เกินกำหนดตามสัญญาหรือข้อตกลง เงื่อนไขสัญญาซื้อเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด สิ่งของราคารวมติดตั้ง/ทดลอง/ปรับตามราคาของทั้งหมด การคิดค่าปรับตามสัญญา

  48. หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับ/ตรวจการจ้าง นร (กวพ) 1305/ว 11948 ลว.13 ธ.ค. 43 คณะกรรมการ - ตรวจรับพัสดุ - ตรวจการจ้าง เสนอความเห็น 1. การแก้ไข เปลี่ยนแปลง สัญญา 2. การขยายระเวลาทำการ ตามสัญญา การงด หรือลด ค่าปรับ หัวหน้า ส่วนราชการ

  49. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา (136) • หลัก • ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง • ข้อยกเว้น • กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ • กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ

  50. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2)การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา(2) • อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา • หัวหน้าส่วนราชการ • ** หลักการแก้ไขฯ ** • การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้

More Related