1 / 38

การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย : บทบาท พยาบาล

การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย : บทบาท พยาบาล. มี 5 ขั้นตอน คือ Ordering (prescribing) แพทย์ Transcribing พยาบาล Dispensing เภสัชกร Administering พยาบาล Monitoring พยาบาล/ แพทย์ / เภสัชกร การ ให้ยา อย่างปลอดภัย ..

Download Presentation

การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย : บทบาท พยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการยาให้ผู้ป่วย :บทบาทพยาบาล มี 5 ขั้นตอน คือ • Ordering (prescribing) แพทย์ • Transcribing พยาบาล • Dispensing เภสัชกร • Administering พยาบาล • Monitoring พยาบาล/ แพทย์/ เภสัชกร การให้ยา อย่างปลอดภัย.. จะต้องป้องกันความคลาดเคลื่อนในทุกขั้นตอน

  2. แนวทางบริหารจัดการยาอย่างปลอดภัยแนวทางบริหารจัดการยาอย่างปลอดภัย สมาคมวิชาชีพ พัฒนาคู่มือเพิ่มความปลอดภัย

  3. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  4. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  5. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  6. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  7. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  8. แนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาแนวทางปฏิบัติการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา

  9. บทเรียนการพัฒนา

  10. ทีมใส่ใจในการพัฒนา

  11. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพ เพื่อให้การทบทวนคำสั่งใช้ยาสามารถตรวจพบปัญหาสำคัญและตรวจสอบพบความคลาดเคลื่อนทางยาในระหว่างแผนกได้ ควรให้เภสัชกรเข้าถึงคำสั่งการใช้ยา/การรักษาที่เกี่ยวข้องได้ในทุกคำสั่ง รวมทั้งเข้าถึงข้อมูลเฉพาะของผู้ป่วยที่จำเป็นต่อการทบทวนได้ อย่างเพียงพอ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบยาเร่งด่วนของสรพ โดยให้ขยายผลการปรับลดปริมาณยา หรือ จำนวนวันในการกระจายยาในหอผู้ป่วยใน ให้เหมาะสมกับการสั่งใช้ยามากขึ้น โดยเฉพาะในหอผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง/วิกฤติ ระบบกระจายยา โดยให้ทบทวนให้มีรายการยาที่เหมาะสมตามความจำเป็นเร่งด่วน ของการดูแลรักษาและการควบคุมสภาวะการจัดเก็บในทุกหน่วยงาน ให้เหมาะสมเพื่อให้ยามีคุณภาพที่ดีจนถึงการใช้งาน การเก็บและสำรองยาในหอผู้ป่วย การทบทวนคำสั่งใช้ยาโดยเภสัชกร

  12. สำรวจข้อมูล ศึกษาปัญหา ในการสำรองยาในหอผู้ป่วย รายการยาสำรองในหอผู้ป่วย ความต้องการอุปกรณ์จัดเก็บยา, ยาเสพติด การดำเนินการ

  13. ข้อมูลที่พบ ยาเสพติด 1.ตู้ไม่มีกุญแจ Lock 2.มีกุญแจแต่ไม่Lock / ไม่มีสัญญาณปิด-เปิด 3.ผสมแล้วไม่ระบุชนิดและความแรง 4. เก็บยามากกว่า 1 ชนิดใน tray เดียวกัน 5. มียาเกินจำนวนที่Stock HAD 1.จัดเก็บรวมกับยาผู้ป่วยทั่วไป 2.เข้าถึงง่าย/รวมอยู่กับยาเสพติด 3.ผสมแล้ว ไม่ label ยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น : ไม่ label ชื่อผู้ป่วย ยาที่เก็บในอุณหภูมิ < 25°C :มีทั้งเก็บที่อุณหภูมิห้อง และเก็บในตู้เย็น การตรวจสอบ 1.ไม่สม่ำเสมอ 2.จำนวนไม่ตรง 3.ไม่ตรงไม่อธิบายการแก้ไข/เหตุผล 4. ไม่ตรวจนับ/ลืมคืนยา/การคืนยาภายหลัง การดำเนินการ

  14. จัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกับหน่วยพัฒนาคุณภาพจัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องร่วมกับหน่วยพัฒนาคุณภาพ ตู้เก็บยาเสพติด ภาชนะเก็บยาสต๊อก , ยาเฉพาะราย จัดทำระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับคณะทำงานฯ การดำเนินการ

  15. สื่อสารทำความเข้าใจระเบียบปฏิบัติทั้ง 4 เรื่อง วันที่ 20 พ.ย.56 กลุ่ม HN, senior staff จำนวน 80 คน วันที่ 21 พ.ย.56 กลุ่มพยาบาล จำนวน 240 คน การดำเนินการ

  16. ติดตามการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติทั้ง 4 เรื่อง โดยการลง audit การปฏิบัติที่หอผู้ป่วย การดำเนินการ

  17. ผลการตรวจเยี่ยม

  18. ผลการตรวจเยี่ยม

  19. การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock) วัตถุประสงค์ เพื่อ 1)ให้มียาช่วยชีวิต (Life saving) ยาจำเป็น (Essential drugs) เพียงพอ พร้อมใช้ 2)จัดเก็บอย่างถูกต้องตามมาตรฐาน 1. การสำรองยา (Stock) 1.1 ทบทวนรายการ/จำนวน ยาสำรองให้มีจำนวนเพียงพอและพร้อมใช้ทันเวลา (ปรับเปลี่ยนลดจำนวน หรือรายการยา กรณีเพิ่มรายการ/จำนวน ให้ระบุความจำเป็น) 1.2 ตรวจสอบจำนวนยาสำรองทุกวัน 1.3 ทบทวนรายการยา และจำนวนร่วมกับทีมแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยทุก 3 เดือน และ/หรือเมื่อจำเป็นตามความต้องการของกลุ่มผู้ป่วย

  20. การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่อ) 2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน 2.1 ยาเสพติด 2.1.1 จัดเก็บในตู้ หรือกล่อง และล็อคทุกครั้ง (มีสัญญาณ แสง เสียง เมื่อเปิด) 2.1.2 บันทึกการใช้ทุกครั้ง (ตามแบบฟอร์ม) 2.1.3 เมื่อผสมแล้วให้ระบุ ชนิดยา ความแรง วัน/เวลาผสม และหมดอายุ 2.1.4 ตรวจสอบจำนวนทุกเวร หัวหน้าหอผู้ป่วยติดตามกำกับอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  21. การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock)(ต่อ) 2. การจัดเก็บตามมาตรฐาน 2.2 ยากลุ่มเสี่ยงสูง (High Alert Drugs; HAD) มีการจัดเก็บในพื้นที่หรือภาชนะที่เข้าถึงได้โดยตั้งใจเท่านั้น 2.2.1 จัดเก็บยาแยกจากยาทั่วไปของผู้ป่วย (รออุปกรณ์) 2.2.2 เมื่อเปิดใช้แล้วต้องระบุชนิดยา ระบุความแรง วันเวลาผสม และหมดอายุ 2.3 การเก็บยาในตู้เย็น ตรวจสอบฉลากที่ระบุระดับอุณหภูมิของยาแต่ละชนิด 2.3.1 แยกชนิดของยาอย่างชัดเจน 2.3.2 ยาผู้ป่วยเฉพาะรายต้องระบุชื่อผู้ป่วยอย่างชัดเจน และแยกเก็บเป็นรายบุคคล

  22. การสำรองยาในหอผู้ป่วย (Ward stock) (ต่อ) 2.4 การจัดเก็บยาผู้ป่วยที่นำมาจากบ้าน 2.4.1 ตรวจสอบรายการยาและจำนวนยา 2.4.2 ตรวจสอบแผนการักษาที่จำเป็นต้องต้องให้ยานอกบัญชีของผู้ป่วย ส่งยาให้เภสัชกรตรวจสอบชนิดและคุณภาพทางกายภาพของยา 2.4.3 จัดยาให้ผู้ป่วยตามแผนการรักษา 2.4.4 จัดเก็บยาผู้ป่วยซึ่งไม่ได้ใช้ในสถานที่เก็บและพิจารณาคืนยาเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน

  23. การจัดเก็บยาในหอผู้ป่วยการจัดเก็บยาในหอผู้ป่วย PCA , PCEA Drug box Emergency drug box

  24. การจัดเก็บยาในตู้เย็นการจัดเก็บยาในตู้เย็น ยาสำรองและยาผู้ป่วยเฉพาะราย วัดอุณหภูมิตู้เย็น

  25. ตู้จัดเก็บยาเสพติด Fentanyl Morphine Pethidine

  26. การประเมินภายหลังการได้รับยาการประเมินภายหลังการได้รับยา ประเมินประสิทธิผล ประเมินความปลอดภัย

  27. ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? • แพทย์ นับว่าเป็นบุคคลที่สำคัญมาก • เภสัชกร นับว่าเป็นผู้ที่มีความรู้เรื่องยามากที่สุด • พยาบาล นับเป็นบุคลากรที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่สุด • ผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแล ป่วยจะเป็นบุคคลแรกที่รับรู้ได้ว่าเกิดความผิดปกติขึ้น (จันทิมา โยธาพิทักษ์,2537)

  28. ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? แพทย์ : การตรวจร่างกาย การสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การสั่งตรวจวินิจฉัยอื่นๆ การนัดผู้ป่วยมาติดตาม ความรู้เรื่อง ADR เภสัชกร : เภสัชกรควรทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาหรือให้ข้อมูลแก่บุคลากรสาธารณสุขอื่นๆ เกี่ยวกับ ADR ผลการตรวจที่สำคัญในการเฝ้าระวังหรือสังเกตอาการ ADR จากยาต่างๆ

  29. ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา?ใครมีหน้าที่สังเกตอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา? พยาบาล : ผู้ป่วยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล การตรวจร่างกายประจำวัน การรวบรวมผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือผลการตรวจอื่นๆ การทำความสะอาดให้แก่ผู้ป่วย ความผิดปกติทางผิวหนัง ผื่นแพ้ ผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแล สำหรับ ADR ผู้ป่วยจะเป็นบุคคลแรกที่รับรู้ได้ว่าเกิดความผิดปกติขึ้น ผู้ป่วยอาจไม่ทราบว่าอาการผิดปกติ ดังนั้น การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติสังเกตอาการ ADR ได้เร็วขึ้น

  30. การให้ยา High Alert Drug;(HAD) Infusion pump drip Label line

  31. แบบบันทึกการเฝ้าระวังการใช้ยาแบบบันทึกการเฝ้าระวังการใช้ยา Morphine Fentanyl

  32. ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss) พัฒนาโปรแกรมโดย พว.สุดถนอม กมลเลิศ งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ • Prescribing error • Processing error • Dispensing error • Administration error ระดับ A มีเหตุการณ์ที่มีโอกาสก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อน ระดับ B มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นแต่ไม่ถึงตัวผู้ป่วย

  33. ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss)(ต่อ) 1. Prescribing error(11) ตัวอย่าง 1.1 แพทย์สั่งยาผิดขนาด/ไม่ระบุขนาด 1.2 แพทย์สั่งด้วยวาจา/โทรศัพท์ 1.3แพทย์เขียนคำสั่งไม่ชัดเจน/อ่านไม่ออก 2. Processing error(9) ตัวอย่าง 2.1 ติดสติกเกอร์ผิดคน 2.2 ระบุวัน/เวลาให้ยาไม่ถูกต้อง

  34. ระบบเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนระดับเกือบพลาด(Near miss)(ต่อ) 3. Dispensing error (10) ตัวอย่าง 3.1 จ่ายยาผิดหอผู้ป่วย 3.2 จ่ายยาผิดขนาด 3.3 จ่ายยาไม่ครบตามจำนวน 4.Administration error(9) ตัวอย่าง 4.1 เก็บยาไม่ถูกต้อง(ยากลุ่มเสี่ยงสูง/ยาต้องเก็บในตู้เย็น) 4.2 จัดยาผิดขนาด 4.3 จัดยาผิดเวลา

  35. การนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัยการนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พนักงานการแพทย์ นำส่งยา ยาต้องเก็บในตู้เย็น

  36. การนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัยการนำส่งยาสู่หอผู้ป่วยอย่างปลอดภัย กล่องนำส่งยา กล่องคืนยา

  37. ระบบรายงานความคลาดเคลื่อนระบบรายงานความคลาดเคลื่อน ระดับNear miss สุดถนอม กมลเลิศ รายงานอุบัติการณ์ รัชนี ศรีวิชัย

  38. ขอบคุณค่ะ

More Related