1 / 51

( Conflict of interests ) ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม

( Conflict of interests ) ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม. โดย นายประมวลศิลป์ บุพศิริ นิติกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานนิติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร. ๕. ประเด็นในการสำรวจ. 1. ความรุนแรงของปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน. สำรวจ เดือนมิถุนายน 2560 จากกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่ม

staceyt
Download Presentation

( Conflict of interests ) ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ( Conflict of interests )ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม โดย นายประมวลศิลป์ บุพศิริ นิติกรชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานนิติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

  2. ประเด็นในการสำรวจ 1. ความรุนแรงของปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน สำรวจเดือนมิถุนายน 2560 จากกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่ม รวมทั้งหมด 2,400 ตัวอย่าง 2. ทัศนคติและจิตสำนึกของคนในสังคมต่อการทุจริตคอร์รัปชัน 3. ประสิทธิภาพการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน • ด้านการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน • ด้านการปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชัน •ด้านการปลูกจิตสำนึกของประชาชน

  3. การมีส่วนร่วมในการป้องกันต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันการมีส่วนร่วมในการป้องกันต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน

  4. ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย(จากผลการสำรวจของ ABAC และ NIDA)

  5. ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย(จากผลการสำรวจของ ABAC และ NIDA)

  6. ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย(จากผลการสำรวจของ ABAC และ NIDA)

  7. ความเคยชินต่อการทุจริตในสังคมไทย(จากผลการสำรวจของ ABAC และ NIDA)

  8. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๖๑

  9. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๖๑ มาตรา ๑๒๘ ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้จากผู้ใด นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาตามหลักเกณฑ์และจำนวนที่คณะกรรมการ ปปช.กำหนด

  10. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๐ ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา ๔๒ มาตรา ๑๐๓ และมาตรา ๑๕๘ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อหัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐที่ตนสังกัดหรือปฏิบัติงานอยู่ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

  11. เจ้าหน้าที่รัฐจะรับทรัพย์สินเพื่อประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาได้ 1. จากญาติ ซึ่งให้โดยเสน่หาตามจำนวนที่เหมาะสม ตามฐานานุรูป 2. จากบุคคลอื่น ซึ่งมิใช่ญาติที่มีราคาหรือมูลค่าในการรับ จากแต่ละบุคคล แต่ละโอกาส ไม่เกิน 3,000 บาท 3.การให้นั้น เป็นการให้ในลักษณะให้กับบุคคลทั่วไป

  12. ความเหมือน ความแตกต่างประโยชน์ส่วนตน VS ประโยชน์ส่วนรวม( Conflict of interests )

  13. การทุจริต ( corruption ) ผลประโยชน์ทับซ้อน ( Confict of interests) จริยธรรม (Ethics)

  14. “จริยธรรม” เป็นหลักสำคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เปรียบเสมือนโครงสร้างพื้นฐานที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือปฏิบัติ “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม” เป็นพฤติกรรมที่อยู่ระหว่างจริยธรรมกับการทุจริต ที่จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตนกระทบต่อผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งพฤติกรรมบางประเภทมีการบัญญัติเป็นความผิดทางกฎหมาย มีบทลงโทษชัดเจน แต่พฤติกรรมบางประเภท ยังไม่มีการการบัญญัติข้อห้ามไว้ในกฎหมาย “การทุจริต” เป็นพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมายโดยตรง ถือเป็นความผิดอย่างชัดเจน สังคมส่วนใหญ่จะมีการบัญญัติกฎหมายออกมารองรับ มีบทลงโทษชัดเจน ถือเป็นความผิดขั้นรุนแรง ที่สุดที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องไม่ปฏิบัติ “เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ขาดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ โดยเข้าไปกระทำการใดๆ ที่เป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นขาดความชอบธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ และจะเป็นต้นเหตุของการทุจริตต่อไป” หฟก

  15. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน • การรับผลประโยชน์ต่าง • รับทรัพย์สิน - การรับบริการ • ของขวัญ - การรับการฝึกอบรม • การลดราคา - สิ่งอื่นใดในการลักษณะเดียวกัน • การรับความบันเทิง ส่งผลต่อการตัดสินใจ • เจ้าหน้าที่ • ใช้อำนาจในทางมิชอบ

  16. ตัวอย่าง ข้าราชการผู้ใหญ่ลงพื้นที่มอบ งาช้าง จำนวน 1 คู่ เป็นที่ระลึก เจ้าหน้าที่รัฐรับของจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เพื่อช่วยให้ชนะการประมูลรับงาน บริษัทให้ทองคำมูลค่ามากกว่า 10 บาท ในปีที่ผ่านมา และปีนี้ เจ้าหน้าที่เร่งรัดคืนภาษี ให้เป็นกรณีพิเศษ (ลัดคิว) เจ้าหน้าที่ของรัฐ รับเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน ได้รับความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ ส่งผลต่อการให้คำวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะ ที่เป็นธรรมหรือเชิงประโยชน์ เจ้าหน้าที่รัฐ รับชุดไม้กอล์ฟ จากผู้บริหารบริษัทเอกชน เมื่อต้องทำงานเกี่ยวข้องกัน ก็ช่วยเหลือ เนื่องจากรู้สึกว่าควรผลตอบแทน

  17. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 2. การทำธุรกิจกับตนเอง / เป็นคู่สัญญา - เป็นเจ้าของบริษัททำสัญญาเอง - เป็นของเครือญาติ ส่งผลต่อ - เกิดบทบาทที่ขัดแย้ง - เป็นทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย เวลาเดียวกัน

  18. ตัวอย่าง เป็นเจ้าหน้าที่ในกระบวนการจัดซื้อ/จ้าง จัดซื้อคอมพิวเตอร์ จากบริษัทของครอบครัวตนเอง / ตนเองมีหุ้นส่วน ผู้บริหารหน่วยงาน ทำสัญญาเช่ารถไปสัมมนา และดูงานกับบริษัทซึ่งเป็นของเจ้าหน้าที่ / ผู้บริหารมีหุ้นส่วน ผู้บริหารของหน่วยงาน ทำสัญญาจ้างบริษัทที่ภรรยาของตนเอง เป็นเจ้าของมาเป็นที่ปรึกษาของหน่วยงาน ทำสัญญาให้หน่วยงานจัดซื้อที่ดินของตนเอง ในการสร้างสำนักงานแห่งใหม่ อดีตนายกรัฐมนตรี ยินยอมให้ภรรยา ประมูลซื้อที่ดิน จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ในฐานะเจ้าพนักงานมีหน้าที่ดูแลกิจการของกองทุน

  19. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 3. การทำงานหลังจากออกจากตำแหน่งหน้าที่สาธารณะหรือหลังเกษียณ - ทำงานให้บริษัทที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับหน่วยงานเดิม ส่งผลต่อ - ใช้อิทธิพล - ความสัมพันธ์จากที่เคยดำรงตำแหน่ง - หาประโยชน์จากหน่วยงานให้บริษัท / ตนเอง

  20. ตัวอย่าง อดีต ผู้อำนวยการโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เพิ่งเกษียณอายุราชการ ไปทำงานเป็นที่ปรึกษาในบริษัทผลิตหรือขายยา ใช้อิทธิพลที่เคยเป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาลเดิม ให้โรงพยาบาลซื้อยาจากบริษัทที่ตนเองเป็นที่ปรึกษา ผู้บริหาร / เจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานที่เกษียณ ใช้อิทธิพลที่เคยดำรงตำแหน่งในหน่วยงานของรัฐ รับเป็นที่ปรึกษาในบริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน อ้างว่าจะได้ติดต่อกับหน่วยงานรัฐ ได้อย่างราบรื่น

  21. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 4. การทำงานพิเศษ - ตั้งบริษัททำธุรกิจ แข่งขันกับหน่วยงาน / องค์กรสาธารณะที่ตนสังกัด - รับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ ส่งผลต่อ - สร้างความน่าเชื่อถือ / ไม่มีปัญหาติดขัด ระหว่างหน่วยงานที่ตนสังกัด

  22. ตัวอย่าง เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี จัดตั้งบริษัทรับจ้างทำบัญชี และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับภาษี และมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยรับจ้างทำบัญชีและยื่นแบบแสดงรายการให้ผู้เสียภาษีในเขตจังหวัดที่รับราชการ และจังหวัดใกล้เคียง ช่วยเหลือผู้เสียภาษีให้เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินแล้วไม่เอาไปชำระภาษีให้ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง เป็นตัวแทนขายประกันชีวิต ไปขายประกันให้บริษัท / ห้างร้าน ที่ตนกำลังดำเนินการเร่งรัด ภาษีอากรค้าง ทำงานในหน้าที่ไม่เต็มที่ เอาเวลาไปรับงานพิเศษ เป็นเจ้าหน้าที่ รับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษา

  23. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 5.การรู้ข้อมูลภายใน - รับรู้ข้อมูลเอาไปหาประโยชน์ - ใช้อำนาจ - ขายข้อมูล - เข้าเอาประโยชน์เสียเอง

  24. ตัวอย่าง เจ้าหน้าที่รัฐ ทราบโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน บอกญาติพี่น้องไปซื้อที่ดินบริเวณโครงการ เพื่อขายให้ราชการในราคาสูงขึ้น เจ้าหน้าที่พัสดุ เปิดเผย ซื้อขายข้อมูลที่สำคัญของฝ่ายที่ยื่นมาประมูลไว้ก่อนหน้า ให้แก่ผู้ประมูลรายอื่นที่ให้ผลประโยชน์ นายช่าง 5 แผนกซ่อมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ นำข้อมูลเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 470 MHz และระบบปลดล็อกไปขายให้แก่ผู้อื่นจำนวน 40 หมายเลข เพื่อนำไปปรับจูน เข้ากับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่นำไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลทั่วไป

  25. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน ตัวอย่าง 6. การใช้ทรัพย์สินของทางราชการเพื่อประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว - เอาของทางราชการไปใช้ส่วนตน / พวกพ้อง - การใช้ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไปทำงานส่วนตัว - คณบดีคณะแพทย์สาสตร์ ใช้อำนาจหน้าที่โดยทุจริต ด้วยการสั่งให้เจ้าหน้าที่นำเก้าอี้ พร้อมผ้าปลอกคลุมเก้าอี้ / เครื่องถ่าย วีดีโอ / เครื่องเล่น วีดีโอ / กล้องถ่ายรูป / ผ้าเต็นท์ / นำไปใช้ในงานแต่งงานบุตรสาว รวมทั้งใช้รถยนต์ส่วนกลางเพื่อใช้รับส่งเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมพิธี และขนอุปกรณ์ ทั้งบ้านพักและโรงแรม

  26. ตัวอย่าง เจ้าหน้าที่นำน้ำมันในรถยนต์ ไปขายและนำเงินไปใช้จ่ายส่วนตัว เจ้าหน้าที่รัฐ ผู้มีอำนาจอนุมัติให้ใช้รถราชการ หรือเบิกจ่ายค่าน้ำมันเชื้อเพลิงนำรถยนต์ของส่วนราชการไปใช้ในกิจธุระส่วนตัว เจ้าหน้าที่รัฐนำวัสดุครุภัณฑ์ ของหน่วยงานมาใช้ที่บ้าน หรือใช้โทรศัพท์ของหน่วยงานติดต่อธุระส่วนตัว หรือนำรถส่วนตัวมาล้างที่หน่วยงาน

  27. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 7. การนำโครงการสาธารณะ ลงในเขตเลือกตั้งเพื่อประโยชน์ทางการเมือง - ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง / ผู้บริหารระดับสูง ส่งผล - อนุมัติโครงการลงพื้นที่ / บ้านเกิด - ใช้งบประมาณสาธารณะเพื่อหาเสียง

  28. ตัวอย่าง นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ร่วมกับ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการปรับปรุงและซ่อมแซม ถนนคนเดินใหม่ ในตำบลที่ตนมีฐานเสียง ไม่ผ่านความเห็นชอบ จากสภา และตรวจรับงานไม่ถูกต้องตามรูปแบบรายการที่กำหนด อีกทั้งติดป้ายชื่อของตนและพวก นักการเมืองในจังหวัด ขอเพิ่มงบประมาณ เพื่อทำโครงการตัดถนน สร้างสะพานลงจังหวัด โดยใช้ ชื่อ/สกุล ของตนเองเป็นชื่อสะพาน รัฐมันตรี อนุมัติโครงการลงพื้นที่หรือบ้านเกิดของตนเอง

  29. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 8. การใช้ตำแหน่งหน้าที่แสวงหาประโยชน์ แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง - ระบบอุปถัมภ์พิเศษ ส่งผล - ใช้อิทธิพล / อำนาจหน้าที่ - หน่วยงานของตนเข้าทำสัญญา กับบริษัทของพี่น้องตนเอง ตัวอย่าง พนักงานสอบสวน ไม่ทำบันทึกการจับกุมที่ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ชุดจับกุมทำในวันเกิดเหตุ เปลี่ยนสำนวน, เปลี่ยนบันทึก / ข้อหาใหม่ เพื่อช่วยเหลือผู้ต้องหาซึ่งเป็นญาติ

  30. ลักษณะประโยชน์ทับซ้อนลักษณะประโยชน์ทับซ้อน 9. การใช้อิทธิพล เข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ - เกิดประโยชน์แก่ตนเอง / พวกพ้อง ส่งผล - ข่มขู่ผู้ใต้บังคับบัญชา - ให้หยุดการกระทำการตรวจสอบบริษัทของเครือญาติของตน ตัวอย่าง - นาย Aเป็นหัวหน้าส่วนราชการ รู้จักกับนาย Bหัวหน้าส่วนราชการอีกแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเดียวกัน ใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัว ฝากลูกชาย นายCเข้าทำงานในสังกัด นายB - ผู้บริหาร เข้าแทรกแซง การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ให้ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบด้วยระเบียบ และกฎหมายหรือฝ่าฝืนจริยธรรม

  31. ตัวอย่าง การขัดกันแห่งผลประโยชน์ ส่วนตนกับส่วนรวมอื่นๆ - เดินทางไปราชการต่างจังหวัด โดยไม่คำนึงถึงจำนวนคน จำนวนงาน จำนวนวันอย่างเหมาะสม เช่น ไปราชการ 10 วัน ทำงานจริง 6 วัน ทำเพื่อท่องเที่ยวสถานที่ต่างๆ - เจ้าหน้าที่ไม่ใช้เวลาราชการ ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ เพราะต้องการทำงาน OT - เจ้าหน้าที่ลาเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยมิได้อยู่ปฏิบัติในช่วงเวลานั้นอย่างแท้จริง แต่กลับใช้เวลาดังกล่าวปฏิบัติธุระส่วนตัว

  32. การที่ ประโยชน์ส่วนรวม ต้องตกไปเป็น ประโยชน์ส่วนตน เกิดจากการที่มีระบบการคิดที่ไม่ถูกต้อง ไม่แยก เรื่องตำแหน่งหน้าที่ กับเรื่องส่วนตนออกจากกัน ไม่สามารถแยก ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมได้ 1 2 คนที่มี ระบบการคิด ที่ไม่ถูกต้อง 4 3 เอา ประโยชน์ส่วนรวม มาเป็นประโยชน์ส่วนตน 5 เอาประโยชน์ส่วนรวม ไปตอบแทนบุญคุณส่วนตน เห็นประโยชน์ส่วนตน สำคัญกว่าประโยชน์ส่วนรวม เห็นประโยชน์ของเครือญาติพวกพ้อง สำคัญกว่าประโยชน์ประเทศชาติ

  33. Analog ระบบเลข “ฐานสิบ” (decimal number system) หมายถึงระบบเลขที่มีตัวเลข ๑๐ ตัว คือ ๐, ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖, ๗, ๘, ๙ เป็นระบบคิดเลขที่เราใช้ในชีวิตประจำวันกันมาตั้งแต่จำความกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้บอกปริมาณหรือบอกขนาด ช่วยให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการสื่อความหมาย สอดคล้องกับระบบ “Analog” ที่ใช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณซึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง หรือแทนความหมายของข้อมูลโดยการใช้ฟังก์ชั่นที่ต่อเนื่อง (Continuous) ระบบคิด “ฐานสิบ Analog” เป็นระบบความคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวเลขหลายตัว และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกได้หลายทาง เกิดความคิดที่หลายหลายซับซ้อน หากนำมาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของรัฐ จะทำให้เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องคิดเยอะ ต้องใช้ดุลพินิตเยอะ อาจจะนำประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกันได้ แยกประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจากกันไม่ได้

  34. DIGITAL ระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัว คือ ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หนึ่ง) สอดคล้องกับการทำงานระบบ Digital ที่มีลักษณะการทำงานภายในเพียง ๒ จังหวะ คือ ๐ กับ ๑ หรือ ON กับ OFF (Discrete) ตัดเด็ดขาด ระบบคิด “ฐานสอง Digital” เป็นระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่สามารถเลือกได้เพียง ๒ ทาง เท่านั้น คือ ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หนึ่ง) และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกได้เพียง ๒ ทาง เช่น ใช่ กับ ไม่ใช่, เท็จ กับ จริง, ทำได้ กับ ทำไม่ได้, ประโยชน์ส่วนตน กับ ประโยชน์ส่วนรวม เป็นต้น จึงเหมาะกับการนำมาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องสามารถแยกเรื่องตำแหน่งหน้าที่กับเรื่องส่วนตัวออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด และไม่กระทำการที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม

  35. ตัวอย่างระบบคิดฐานสิบ & ระบบคิดฐานสอง Analog Digital ยอมรับกับคำพูดที่ว่า “ทุจริตบ้างไม่เป็นไร ถ้าเราได้ประโยชน์” ไม่ยอมรับกับคำพูดที่ว่า “ทุจริตบ้างไม่เป็นไร ถ้าเราได้ประโยชน์” ไม่สามารถแยกประโยชน์ส่วนตัว ออกจากประโยชน์ส่วนรวมได้ ไม่สามารถแยกประโยชน์ส่วนตน ออกจากประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์ทับซ้อน/สินบน/ ทุจริตคอร์รัปชัน ระบบอุปถัมภ์ นำความสัมพันธ์ส่วนตัวมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง เห็นประโยชน์สาธารณะ มาก่อนประโยชน์ส่วนตน สังคมโลกสมัยก่อน : ยุค สังคมโลกสมัยใหม่ : ยุค

  36. ตัวอย่างระบบคิดฐานสิบ & ระบบคิดฐานสอง

  37. ตัวอย่างระบบคิดฐานสิบ & ระบบคิดฐานสอง

  38. คิดแบบไหน ? ...ไม่ทุจริต คิดได้

  39. คิดแบบไหน ? ...ไม่ทุจริต คิดดี

  40. คิดแบบไหน ? ...ไม่ทุจริต คิดเป็น

  41. สื่อการเรียนรู้ ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ตอนแย่งที่ เป็นการแย่งที่จอดเรือโดยมีคนติดสินบนเจ้าหน้าที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ยอมรับสินบน และจับตัวคนที่จะให้สินบนไปลงโทษ

  42. สื่อการเรียนรู้ ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ตอนรับไม่ได้ เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสินค้า แต่เจ้าของสินค้าไม่ให้ตรวจและจะมอบสินบนให้กับเจ้าหน้าที่ ซึ่งเจ้าหน้าที่คนนั้นไม่ยอมรับของดังกล่าว

  43. สื่อการเรียนรู้ ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ตอนทำบุญบูรณะวัด วัดมีสภาพเสื่อมโทรมซึ่งมีคนมาช่วยเหลือ บริจาคเงิน แต่ต้องให้พระที่วัดพูดจาหว่านล้อมให้ชาวขายที่ดินให้ตนเอง

  44. สื่อการเรียนรู้ ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ตอนแป๊ะเจี๊ยะ พ่อค้าต้องการให้ลูกเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียง จึงจะจ่ายเงินให้กับทางโรงเรียน แต่ลูกไม่ยอมและยืนยันว่าจะสอบเข้าด้วยตัวเอง

More Related