1 / 95

วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต

โครงการ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ 25-27 ก.พ. , 3-5 , 10-11 มี.ค 255 1 ตั้งแต่เวลา 9 :00 – 16:30 น โรงแรมเดอะทวินทาวน์เวอร์ ชั้น 4. วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต.

sonya-foley
Download Presentation

วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการคำนวณต้นทุนผลผลิตวันที่ 25-27 ก.พ. , 3-5 , 10-11 มี.ค 2551ตั้งแต่เวลา 9:00 – 16:30 นโรงแรมเดอะทวินทาวน์เวอร์ ชั้น 4

  2. วัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิตวัตถุประสงค์ของการคำนวณต้นทุนผลผลิต 1พัฒนาการบริหารจัดการทางการเงินที่ดี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) • เพิ่มความรับผิดชอบต่อสาธารณะ Accountability • เพิ่มความสามารถในการตัดสินใจในการการบริหารจัดการ • การวัดผลการดำเนินงาน

  3. ประโยชน์ของข้อมูลต้นทุนประโยชน์ของข้อมูลต้นทุน • 5 ด้าน (ข้อมูลจาก “การบัญชีเพื่อการบริหารต้นทุนภาครัฐ” มาตรฐานการบัญชีการเงินภาครัฐ ฉบับที่ 4) 1. การควบคุมต้นทุนและงบประมาณ 2. การวัดผลการดำเนินงาน 3. การกำหนดค่าธรรมเนียม (เช่น มหาวิทยาลัย) 4. ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม 5. การตัดสินใจของคำนึงถึงความเหมาะสมทางการเงิน

  4. KPI เปรียบเทียบ ปี 50/51 ของส่วนราชการ

  5. แนวทางการประเมินผล

  6. แนวทางการประเมินผล

  7. แนวทางการประเมินผล

  8. แนวทางการประเมินผล

  9. แนวทางการประเมินผล

  10. แนวทางการประเมินผล

  11. แนวทางการประเมินผล

  12. คะแนนที่ 1 จัดทำบัญชีต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามหลักเกณฑ์วีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด

  13. หลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักเกณฑ์เบื้องต้นในการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต Cost จาก GL สำนัก กอง ศูนย์ กิจกรรม หลัก 12 + 3+ 3 ค่าใช้จ่าย ทางตรง 100 กิจกรรม 1 ผลผลิต 1 หลัก 18 + 2+ 3 หลัก 17 + 3+ 3 กิจกรรม 2 หลัก 8 + 2+ 3 หลัก 15 + 5+ 4 ผลผลิต 2 หลัก 20 + 5+ 4 กิจกรรม 3 รวม 110 ค่าใช้จ่าย ทางอ้อม 30 สนับสนุน 6 + 4 กิจกรรม 4 ผลผลิต 3 สนับสนุน 4 + 6 รวม 20 กิจกรรม 5 รวมทั้งหมด 130 รวม 130

  14. คะแนนที่ 2 เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ผลผลิตระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.2549และปีงบประมาณ พ.ศ.2550

  15. เปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต งวด 6 เดือนแรก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548

  16. ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 47 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 22.2 ลบ. 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 22.2 ลบ. 216,296บ. 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 2.5 ลบ. 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 47.5 ลบ. 3,272บ. 3. บริหารงานเงินนอกฯ 3.9 ลบ. 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 41.1 ลบ. 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 10.9 ลบ. 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 10.9 ลบ. 259,075บ. 6. บริหารการรับ-จ่าย 341.3 ลบ. 4. การบริหารการเงิน การคลัง 345.6ลบ. 560บ. 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.3 ลบ.

  17. ผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตงวด 6 เดือนแรก ปี 48 กิจกรรม รวม ผลผลิต รวม ต้นทุน/หน่วย 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 292.3 ลบ. 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 316.4 ลบ. 546,430 บ. 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.4 ลบ. 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 16.6 ลบ. 2. การกำกับ ดูแลการ คลัง การบัญชี การ พัสดุ และการตรวจ สอบภายใน 91.6 ลบ. 3,498.4 บ. 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 91.6 ลบ.

  18. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 กิจกรรม ปี 48 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 3. บริหารงานเงินนอกฯ 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล

  19. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต กิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 47 ต้นทุนกิจกรรม ปี 48 กิจกรรม ปี 48 1. จัดทำ วิเคราะห์ และ พัฒนาระบบเทคโนโลยีฯ 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศ การคลังและวิเคราะห์ รายงานการเงินแผ่นดิน 22.19 16.63 2. บริหารงานสวัสดิการ รักษาพยาบาล 4. กำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. บริหารงานเงินนอกฯ 56.38 91.60 4. กำกับ ดูแล ควบคุม มาตรฐานฯ 1. บริหารและควบคุม การรับจ่ายเงินภาครัฐ และดำเนินงานด้านการ คลังให้ผู้ว่า CEO 5. กำกับ ดูแล งานตรวจ สอบภายใน 341.33 292.31 6. บริหารการรับ-จ่าย 7. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 4.29 2. พัฒนาทรัพยากรบุคคล 7.44

  20. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน 4. การบริหารการเงิน การคลัง

  21. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ปี 47 ต้นทุนผลผลิต ปี 48 ผลผลิต ปี 47 ผลผลิต ปี 48 1. การเป็นศูนย์ข้อมูล สารสนเทศการคลัง 1. การบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ 367.82 316.4 4. การบริหารการเงิน การคลัง 2. การกำกับ ดูแล การคลัง การบัญชี การพัสดุภาครัฐ 2. การกำกับ ดูแลการคลัง การบัญชี การพัสดุ และ การตรวจสอบภายใน 58.38 91.6 3. การกำกับ ดูแลการ ตรวจสอบภายใน

  22. การเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตการเปรียบเทียบผลการคำนวณต้นทุนผลผลิต

  23. ตารางต้นทุนแยกตามหน่วยงานเปรียบเทียบปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก)

  24. ตารางต้นทุนแยกตามหน่วยงานเปรียบเทียบปี 47 กับปี 48 (งวด 6 เดือนแรก)

  25. ระดับคะแนนที่ 3 ทบทวนภารกิจเพื่อจัดทำข้อมูลผลผลิตย่อย กิจกรรมย่อย พร้อมปริมาณและหน่วยนับ ทั้งองค์กร สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2551

  26. ความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อยความสำคัญของข้อมูลด้านต้นทุนกิจกรรมย่อยและผลผลิตย่อย 1. การตัดสินใจในการบริหารองค์กรโดยใช้ข้อมูลต้นทุนที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กร และผลประโยชน์ของประเทศชาติ 2. การระบุทรัพยากรเข้าสู่กิจกรรม และพิจารณาว่ากิจกรรมได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างไร ซึ่งเป็นปัจจัยในการพิจารณาต้นทุนของผลผลิต 3. ในการหาต้นทุนกิจกรรม ถ้าหน่วยงานมีกิจกรรมที่เหมือนหน่วยงานอื่นก็ ควรกำหนดงานนั้นขึ้นเป็นกิจกรรมและกำหนดหน่วยนับให้เหมือนหน่วยงานอื่น เช่น กิจกรรมการก่อสร้าง เป็นกิจกรรมที่เอกชนก็ทำ ก็ควรกำหนดเป็นกิจกรรมเพื่อหาต้นทุนพร้อมหน่วยนับที่เหมือนกัน ถ้าภาครัฐดำเนินงานไม่มีประสิทธิภาพ เราสามารถพิจารณา outsource จ้างเอกชน

  27. คำศัพท์ ผลผลิตหลัก หมายถึง ผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงผลผลิตอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการผลิตผลผลิตผลผลิตย่อย หมายถึง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หน่วยงานภาครัฐทำการผลิต และส่งมอบให้กับบุคคลภายนอก ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของหน่วยงาน และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  28. คำศัพท์ กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมตามเอกสารงบประมาณ รวมถึงกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากเอกสารงบประมาณที่อยู่ภายใต้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งอาจจะไม่ได้ใช้เงินในงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมกิจกรรมย่อย หมายถึง กิจกรรมของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานกำหนดขึ้นเพื่อใช้ ในการคำนวณหาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเองและเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอื่นได้

  29. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย กิจกรรมย่อย ส่วนราชการต้องวิเคราะห์กิจกรรมในการดำเนินงาน ของหน่วยงาน และทำการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมย่อย เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานในรูปของต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรมควรจะสามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างปีของหน่วยงานหรือระหว่างหน่วยงานได้

  30. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • นักวิเคราะห์จะกำหนดกิจกรรมละเอียดหรือหยาบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ การระบุกิจกรรมที่ละเอียดเกินไปอย่างทำให้ต้นทุนกับประโยชน์ที่ได้รับไม่คุ้มกัน • ต้นทุน-ประโยชน์ คุ้มหรือไม่ขึ้นอยู่กับความตั้งใจในการใช้ข้อมูลต้นทุนกิจกรรม • การตัดสินใจพัฒนากิจกรรมขององค์กรอาจต้องการข้อมูลกิจกรรมที่ละเอียด • เป็นการวิเคราะห์กระบวนการทำงานอย่างละเอียดในแต่ละศูนย์ต้นทุน • แต่ละศูนย์ต้นทุนทำกิจกรรม 1 กิจกรรมหรือมากกว่า เพื่อที่จะสร้างผลผลิต

  31. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • Top-down approach • Interview or participative approach • Recycling approach

  32. วิธี Top – down approach • แต่งตั้งคณะทำงานวิเคราะห์กิจกรรม • คณะทำงานต้องมีความเข้าใจและมีประสบการณ์ในกระบวนการทำงานของหน่วยงานเป็นอย่างดี ข้อดี • สามารถกำหนดกิจกรรมได้อย่างรวดเร็ว • ต้นทุนต่ำ • องค์กรขนาดใหญ่มักใช้วิธีนี้ในการกำหนดกิจกรรม

  33. วิธีการสัมภาษณ์หรือการมีส่วนร่วมInterview or participative approach • แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อสัมภาษณ์กิจกรรมจากพนักงาน • แต่งตั้งคณะทำงานที่ประกอบด้วยพนักงานจากศูนย์ต้นทุนต่างๆ ข้อดี • การกำหนดกิจกรรมจะถูกต้องมากกว่าวิธี Top – down approach ข้อเสีย • ใช้เวลามาก • พนักงานปิดบังข้อมูลที่แท้จริงเพราะกลัวว่าผู้บริหารระดับสูงจะทราบข้อมูลการทำงานของตน

  34. วิธีการใช้ข้อมูลที่มีอยู่Recycling approach • ใช้เอกสารเกี่ยวกับเกี่ยวกับกระบวนการทำงานที่มีอยู่แล้ว เช่น เอกสารภารกิจตามกฎกระทรวง ข้อดี • ใช้เวลาน้อย • รวดเร็ว

  35. การวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อยการวิเคราะห์และกำหนดกิจกรรมย่อย • เมื่อได้รายชื่อกิจกรรมแล้ว พิจารณาว่ากิจกรรมนั้นดำเนินการโดยศูนย์ต้นทุนใด • ในช่วงเริ่มแรก การกำหนดกิจกรรมในศูนย์ต้นทุนไม่ควรเกินกว่าจำนวนฝ่ายหรือกลุ่มย่อยภายใต้ศูนย์ต้นทุน • กำหนดหน่วยนับของกิจกรรมย่อย ให้พิจารณาดังนี้ • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่หน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับตามหน่วยงานอื่น • กรณีที่กิจกรรมเป็นกิจกรรมที่ไม่มีหน่วยงานภายนอกอื่นทำเหมือนกัน กำหนดหน่วยนับอย่างสม่ำเสมอ โดยหน่วยนับแสดงถึงปริมาณงานของกิจกรรม

  36. การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อยการวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย • ผลผลิตย่อย ต้องเป็นผลผลิตที่ส่งมอบให้กับบุคคลภายนอกที่มี ความละเอียดในส่วนของชื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ส่วนราชการ ดำเนินการผลิต รวมถึงต้องมีการกำหนดหน่วยนับให้เหมาะสม

  37. สิ่งสำคัญในการกำหนดผลผลิต คือ ต้องมีความสม่ำเสมอและสามารถเปรียบเทียบและBenchmark ได้ภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงาน การวิเคราะห์และกำหนดผลผลิตย่อย

  38. กิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุนและหน่วยนับกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุนและหน่วยนับ

  39. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุนอธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน ต้นทุนกิจกรรม หมายถึง ทรัพยากรทั้งหมดที่หน่วยงานจ่ายไปเพื่อ ให้สามารถดำเนินงานในกิจกรรมดังกล่าวได้ ไม่ว่าจะเป็นเงินในงบประมาณเงินนอกงบประมาณ หรืองบกลาง

  40. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านการเงินและบัญชี คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมด้านการเงินและบัญชีของหน่วยงาน เช่น การรับ-จ่ายเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ การติดตามและการรายงานด้านการเงินและบัญชี รวมถึงการบริหารจัดการด้านงบประมาณ (แต่ไม่รวมถึงการจัดทำแผนที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกลุ่มแผนงาน) จำนวนเอกสารรายการ หมายถึง จำนวนรายการเอกสารทางการเงินและบัญชี ยกเว้นเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งหน่วยงานสามารถเรียกดูจำนวนเอกสารรายการการเงินและบัญชีในระบบ GFMISได้โดยใช้ Transaction Code: FB03

  41. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านการพัสดุ (จัดซื้อจัดจ้าง) คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมการบริหารด้านพัสดุ และการจัดซื้อจัดจ้าง แต่ไม่รวมถึงมูลค่า ของสิ่งของหรือบริการที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง ในกรณีนี้ยังไม่รวมการซ่อมบำรุง และงานด้านยานพาหนะ จำนวนครั้งของการจัดซื้อจัดจ้าง หมายถึง จำนวนครั้งที่หน่วยงาน ทำการจัดซื้อและจัดจ้าง ซึ่งจำนวนเอกสารของการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ GFMIS สามารถเรียกได้โดยใช้ Transaction Code: ZMM_PO_RPT01

  42. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านบริหารบุคลากร คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการบริหารบุคลากรของหน่วยงาน เช่น การดูแลอัตรากำลังและระบบงาน ด้านวินัย และงานสรรหา และบรรจุแต่งตั้ง

  43. จำนวนบุคลากรหมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ถ้าจำนวนบุคลากรไม่เท่ากันระหว่างปีให้ใช้จำนวนบุคลากรถั่วเฉลี่ย ตัวอย่างเช่น ระหว่าง 1 ตุลาคม 2550 ถึง 15 มกราคม 2550 มีจำนวนบุคลากร 50 คน ระหว่าง 16 มกราคม 2550 ถึง 30 กันยายน 2550 มีจำนวนบุคลากร 60 คน ดังนั้น การคำนวณหาจำนวนบุคลากรเท่ากับ ระยะเวลา จำนวนวันจำนวนบุคลากรจำนวนวัน x จำนวนบุคลากร 1 ตุลาคม - 15 มกราคม 107 50 คน 5,350 16 มกราคม - 30 กันยายน 258 60 คน 15,480 รวม 36520,830 จำนวนบุคลากรถั่วเฉลี่ยทั้งปี 20,830 / 365 วัน =57.07 คน อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ)

  44. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมด้านพัฒนาทรัพยากรบุคคล หมายถึง กิจกรรมที่หน่วยงานดำเนินงานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การประเมินผล และการจัดฝึกอบรม รวมถึงการจัดทำสื่อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยนับรวมการพัฒนาบุคลากรทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ในกรณีนี้ยกเว้นการศึกษาดูงานและการฝึกอบรมต่างประเทศ จำนวนชั่วโมง/คนการฝึกอบรม หมายถึง ผลรวมของจำนวนชั่วโมงของการฝึกอบรมของแต่ละหลักสูตรคูณด้วยจำนวนผู้เข้าฝึกอบรมในหลักสูตรนั้น เพื่อคำนวณหาต้นทุนของการฝึกอบรม 1 คน ต่อ 1 ชั่วโมงเป็นเท่าใด ตัวอย่างเช่น หลักสูตรฝึกอบรมมีผู้เข้ารับการอบรม 20 คน มีระยะเวลา 6 ชั่วโมง ดังนั้นจำนวนชั่วโมง/คนการฝึกอบรม เท่ากับ 120 ชั่วโมง/คน

  45. อธิบายกิจกรรมย่อยของหน่วยงานสนับสนุน (ต่อ) ต้นทุนของกิจกรรมตรวจสอบภายใน คือ ต้นทุนในการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับงานด้านตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ซึ่งส่วนใหญ่ดำเนินงานโดยกลุ่มตรวจสอบภายใน จำนวนงานตรวจสอบ หมายถึง จำนวนคนวันที่ใช้ที่ในงานตรวจสอบตามแผนงานการตรวจสอบประจำปี

  46. ตัวอย่างการกำหนดผลผลิตย่อยตัวอย่างการกำหนดผลผลิตย่อย

  47. ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อยตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย การกำหนดกิจกรรมย่อยโดยพิจารณาผลผลิตของศูนย์ต้นทุน

  48. ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อยตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย

  49. ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อยตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย

  50. ตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อยตัวอย่างการกำหนดกิจกรรมย่อย

More Related