1 / 27

บทสรุปการศึกษา

บทสรุปการศึกษา. นโยบายเขตการค้าเสรี. เขตการค้าเสรีประกอบด้วย - สองประเทศขึ้นไป - ตกลงขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน - พยายามลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด - ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน. เกิดอะไรขึ้นบ้าง ?. การก่อตัวนโยบาย ( policy formation).

sonja
Download Presentation

บทสรุปการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทสรุปการศึกษา

  2. นโยบายเขตการค้าเสรี • เขตการค้าเสรีประกอบด้วย - สองประเทศขึ้นไป - ตกลงขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน - พยายามลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด - ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน

  3. เกิดอะไรขึ้นบ้าง ? การก่อตัวนโยบาย (policy formation) การดำเนินการตามแนวทางได้ผลหรือไม่ ? มีแนวทางอย่างไรบ้าง ? การประเมินนโยบาย (policy evaluation) การกำหนดนโยบาย (policy formulation) การนำนโยบาย ไปปฏิบัติ (policy implementation) การตัดสินนโยบาย (policy decision) จะนำแนวทางที่ได้ไปดำเนินการอย่างไร ? จะเลือกแนวทางใดดี ?

  4. การก่อตัว และการกำหนดนโยบายสาธารณะ • ปัญหาสาธารณะ (Public Issue/Problem) ซึ่งเป็นที่มาของนโยบายมีลักษณะอย่างไร • ขั้นตอนการกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) เป็นอย่างไร • การพิจารณาทางเลือกนโยบายมีเกณฑ์อย่างไร • กลยุทธ์ในการตัดสินใจเลือกนโยบายเป็นอย่างไร • นโยบายสาธารณะเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้าง • ขั้นตอนการก่อตัวนโยบาย (Policy Formation)

  5. เป้าหมายของไทย เป้าหมายของไทย Trade and Investment Hub in Asia Top 20 World Exporter Top 5 Investment Destination in Asia สร้างฐานเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดย Dual track policies

  6. ทำไมไทยต้องทำ FTA • อยู่นิ่งเท่ากับถดถอย • ประเทศคู่ค้าที่สำคัญเช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป ต่างทำ FTA • สถานการณ์การแข่งขันการค้าโลกรุนแรงและรวดเร็วมากขึ้น • ไทยเสียสิทธิทางภาษีที่เคยได้ เช่น GSP ในขณะที่แอฟริกาและอเมริกาใต้ยังได้อยู่ ทำให้ไทยเสียเปรียบและเสียส่วนแบ่งตลาด • “รุก” ในส่วนที่ทำได้ดีกว่ารอรับอย่างเดียว การค้าระหว่างประเทศคิดเป็น 56.4 % ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

  7. ความล้มเหลวในการเจรจาพหุภาคีความล้มเหลวในการเจรจาพหุภาคี • ประเทศใหญ่ ๆ จึงผลักดันระดับทวิภาคี • ประเทศเล็ก ๆ ต้องรวมกลุ่มกันคานอำนาจ • หลายประเทศใช้เขตการค้าเสรีเป็นยุทธวิธีในการสร้างพันธมิตร • กลายเป็นกระแส เป็น Mood of Regional Cooperation

  8. ถ้าไม่ทำ FTA ไทยจะเสียอะไร • ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง • วัตถุดิบที่จำเป็นต้องนำเข้า ไม่ได้ปรับลดภาษีทำให้ต้นทุนสูง • ต่างชาติสนใจเข้ามาลงทุนน้อยลง เนื่องจากตลาดแคบ • ผู้บริโภคซื้อสินค้าแพง สินค้ามีให้เลือกน้อย • ไม่กระตุ้นให้มีการปรับโครงสร้างการผลิต • ไม่กระตุ้นให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสินค้า • แก้ไขปัญหาและอุปสรรคการค้าระหว่างกันมากขึ้น • เสียโอกาสกระชับความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศผู้นำทางเศรษฐกิจ

  9. ชนชั้นนำ ข้าราชการ และผู้บริหาร ประชาชน ตัวแบบชนชั้นนำ (Elite Model)

  10. การพิจารณาทางเลือกนโยบายการพิจารณาทางเลือกนโยบาย • ประสิทธิผล (effectiveness) ความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของทางเลือก • ประสิทธิภาพ (efficiency) ความสามารถในผลิตผลผลิตโดยเปรียบเทียบจากต้นทุน • ความพอเพียง (adequacy) ความสามารถของการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่ • ความเป็นธรรม (equity) การกระจายตัวของผลการดำเนินการตามทางเลือก • การตอบสนอง (responsiveness) ความสามารถในการเติมเต็มความต้องการของประชาชนกลุ่มต่างๆ • ความเหมาะสม (appropriateness) การพิจารณาเชิงคุณค่าและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

  11. ยุทธศาสตร์การเจรจา • ประเทศใหญ่ ตลาดเดิม (Market Strengthening) : ญี่ปุ่น สหรัฐฯ • ขยายตลาดใหม่ (Market Broadening & Deepening) • ตลาดที่มีศักยภาพ: จีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ • ตลาดที่เป็นประตูการค้า (Gateway): บาห์เรน เปรู • ตลาดภูมิภาค: BIMST-EC

  12. การนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติ • เส้นทางเดินนโยบาย (policy path) คืออะไร • ปัจจัยความสำเร็จ/ล้มเหลวในการนำนโยบายไปปฏิบัติมีอะไรบ้าง • ความสัมพันธ์ระหว่างการนำนโยบายไปปฏิบัติกับขั้นตอนนโยบายขั้นอื่นเป็นอย่างไร • การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติมีขั้นตอนอย่างไร

  13. ทีม FTA คณะรัฐมนตรี กนศ. คณะเจรจา คณะทำงาน ประสานยุทธศาสตร์ และนโยบายการ เจรจาการค้า ระหว่างประเทศ คณะทำงาน ติดตามผลการเจรจา ) Australia&NZ Bahrain China India & BIMSTEC Japan Peru US

  14. คณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศคณะทำงานประสานงานยุทธศาสตร์และนโยบายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ การเปิดตลาดสินค้า กระทรวงพาณิชย์ แหล่งกำเนิดสินค้า กระทรวงการคลัง การลด/เลิกอุปสรรคทางการค้า - มาตรฐานสุขอนามัย - มาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงอุตสาหกรรม การค้าบริการ กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การลงทุน BOI ทรัพย์สินทางปัญญา กรมทรัพย์สินทางปัญญา E-commerce กระทรวง ICT

  15. การนำนโยบายไปปฏิบัติ • มีผลบังคับใช้ - จีน 1 ตุลาคม 2546 - อินเดีย 1 มีนาคม 2547 - ออสเตรเลีย 1 มกราคม 2548 - นิวซีแลนด์ 1 กรกฎาคม 2548 - ญี่ปุ่น 3 เมษายน 2550

  16. อยู่ระหว่างดำเนินการเจรจาอยู่ระหว่างดำเนินการเจรจา • สหรัฐอเมริกา • เปรู • บาห์เรน • BIMSTEC • EFTA

  17. ไทย - จีน • ลงนามในความตกลงเร่งลดภาษีผักและผลไม้ เมื่อ 18 มิถุนายน 2546 ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน • สาระสำคัญครอบคลุมการลดภาษีสินค้าผักและผลไม้ทุกรายการให้เหลือ 0% ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2546 • ไทยยังประสบกับมาตรการการค้าที่ไม่ใช่ภาษีต่างๆ ของจีน เช่น ระเบียบขั้นตอนในการนำเข้าผักผลไม้, มาตรฐานด้านสุขอนามัยและความปลอดภัย และ ยังคงมีการเก็บภาษีภายในของจีน

  18. ไทย – จีน (ต่อ) • มีการจัดทำพิธีสารข้อกำหนดทางเทคนิคการส่งออกผลไม้จากไทยไปจีน และจีนมาไทย ผลไม้จากไทยไปจีน ครอบคลุมสินค้า 5 ชนิด ได้แก่ มะม่วง ทุเรียน ลำไย ลิ้นจี่ และมังคุด ผลไม้จากจีนมาไทย ครอบคลุมสินค้า 5 ชนิด ได้แก่ แอปเปิ้ล แพร พืชสกุลส้ม (ส้ม ส้มโอ ส้มแทงเจอรีน มะนาว) องุ่น และ พุทรา

  19. ไทย - อินเดีย • ลงนามในกรอบความตกลงเมื่อ 9 ต.ค. 46 ณ ทำเนียบรัฐบาล • สาระสำคัญครอบคลุมการเปิดเสรีการค้าสินค้า (เหลือ 0% ภายใน 2553) การค้าบริการ (ให้เสร็จสิ้นภายใน มกราคม 2549) และการลงทุน นอกจากนี้ ยังได้ตกลงแนวทางการเจรจา เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน รวมถึงการลด/ ยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non Tariff Barrier) • ตกลงให้มีการลดภาษีบางส่วนทันที (Early Harvest) โดยทยอยลดปีละ 50% 75% และ 100% ตั้งแต่ 1 มี.ค. 47 ถึง 1 มี.ค. 49 ครอบคลุมสินค้า 84 รายการ

  20. ไทย - ออสเตรเลีย • ลงนามในความตกลงแล้วเมื่อ 5 ก.ค. 47 ณ กรุงแคนเบอร์รา ซึ่งความตกลงจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 • ออสเตรเลียลดภาษีเหลือ 0% ประมาณ 83% ของรายการสินค้า ส่วนที่เหลือจะทยอยลดเหลือ 0% ภายในปี 2553 และ 2558 • ส่วนไทยลดเหลือ 0% ประมาณ 49% ของรายการสินค้า ส่วนที่เหลือลดเหลือ 0% ภายใน 10, 15 และ 20 ปี โดยมีมาตรการ Special Safeguard สำหรับสินค้าบางรายการ • ไทยสามารถเข้าไปลงทุนในธุรกิจบริการต่าง ๆ ได้

  21. ไทย - ญี่ปุ่น • นายกไทย-ญี่ปุ่นร่วมกันประกาศเปิดการเจรจาเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิด (JTEP) เมื่อ 11-12 ธันวาคม 2546 ณ กรุงโตเกียว • มีการประชุมเจรจาความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น(JTEPA)ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 29 มีนาคม - 1 เมษายน 2548ครั้งที่ 7 ซึ่งผลการหารือของทั้งสองฝ่ายหาข้อสรุปในหลักการได้ในเกือบทุกบท ยกเว้น เหล็ก ยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ • มีการลงนามความร่วมมือ 3 เมษายน 2550 ณ กรุงโตเกียว

  22. ไทย - บาห์เรน • ลงนามในกรอบความตกลงเมื่อ 29 ธ.ค. 45 โดยจัดทำรายการ ลดภาษีในเบื้องต้น (Early Harvest)626 รายการ โดยมีอัตราภาษีที่ 0% และ 3% • สำหรับรายการสินค้าที่เหลืออีกประมาณ 5,000 รายการ จะได้เจรจาต่อไปให้เสร็จภายในปี 2547 โดยแบ่งสินค้าออกเป็น 3 กลุ่ม ซึ่งอัตราภาษีจะลดเหลือ 0% ภายในปี 2548 2550 และ 2553 ตามลำดับ

  23. ไทย - เปรู • ลงนามในกรอบความตกลงการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้น เมื่อ 17 ต.ค. 2545 ครอบคลุมสินค้า บริการ และการลงทุน ให้เป็นเขตการค้าเสรีที่สมบูรณ์ในปี 2558 (ยกเว้นรายการอ่อนไหว) • เริ่มเจรจาต้นปี 2547 และมีเป้าหมายเจรจาให้เสร็จภายในกลางปี 2548

  24. ไทย - สหรัฐฯ • นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร และประธานาธิบดีบุช หารือกันเมื่อ 19 ต.ค. 2546 ที่กรุงเทพฯ และเห็นชอบที่จะให้มีการเจรจา FTAระหว่างไทย-สหรัฐฯ • การเจรจารอบที่ 1 วันที่ 28 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม 2547 ณ เมืองโฮโนลูลู มลรัฐฮาวาย มีการหารือในเรื่องการลดภาษีและการใช้ trigger priceใน special safeguardสินค้าอ่อนไหวของแต่ละฝ่าย

  25. ไทย – สหรัฐฯ (ต่อ) • การเจรจารอบที่ 2 วันที่ 11-15 ตุลาคม 2547 ณ เมืองโฮโนลูลู มลรัฐฮาวาย ผลการหารือที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกาจะยกเลิกการใช้มาตรการอุดหนุนสินค้าเกษตรที่ส่งมายังประเทศคู่ภาคี • รอบที่ 3 วันที่ 4-8 เมษายน 2548 ณ เมืองพัทยา ประเทศไทย สาระสำคัญคือ ไทยและสหรัฐอเมริกาแสดงท่ามีชัดเจนในเรื่องการลดการอุดหนุนการผลิต และการส่งออกสินค้าเกษตร ระบบการลดภาษี

  26. การรองรับผลการเจรจา (Implementation) คณะทำงานรองรับผลการเจรจา ปรับโครงสร้าง เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการเปิดเสรี ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านเทคโนโลยี • พัฒนาตลาดเชิงรุก • Thailand Market Place • พัฒนาระบบข้อมูลการตลาด • Marketing Survey • พัฒนาบุคลากร • Inter-trader • พัฒนาสินค้า • Brand image • พัฒนาระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ ช่วยเหลือผู้ผลิตที่ได้รับผลกระทบ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการผลิต การบริหาร จัดการ

  27. ที่มา • http://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0&hl=th&rlz=1R2MOOI_enTH333&start=100&sa=N • สืบค้น วันที่ 14 สิงหาคม 2552

More Related