1 / 11

Cognitive of Depressive Disorder

Cognitive of Depressive Disorder. การรู้-การคิดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า วิชญา โมฬีชาติ นักจิตวิทยา 5. ความหมายของการรู้- การคิด.

sonia-moody
Download Presentation

Cognitive of Depressive Disorder

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cognitive of Depressive Disorder การรู้-การคิดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า วิชญา โมฬีชาติ นักจิตวิทยา 5

  2. ความหมายของการรู้- การคิด • การรู้การคิด (Cognition) หมายถึง กระบวนการทางจิตที่ทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัส(Transform Sensory Input) ไปในรูปแบบต่างๆ กระบวนการนี้ทำหน้าที่ตั้งแต่ลดจำนวนข้อมูล(Reduced) เปลี่ยนรหัส (Code) และส่งไปเก็บไว้ (Store) ในกล่องความจำ และรื้อฟื้นเรียกคืน (Retrieve) มาได้เมื่อต้องการ การรับรู้ จินตนาการ การแก้ปัญหา การจำได้ และการคิด ล้วนเป็นคำที่อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ เมื่อเกิดการรู้-การคิด

  3. การรู้-การคิดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าการรู้-การคิดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า • โดยปกติโรคซึมเศร้าจะแสดงอาการของการขาดประสิทธิภาพของการรู้ การคิด ซึ่งคล้ายคลึงกับโรคสมองเสื่อม แต่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจะไม่มีอาการ aphasia, apraxia, agnosia ซึ่งเป็นกลุ่มอาการของโรคสมองเสื่อม • ความผิดปกติของการรู้การคิดของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามักแสดงออกมาในลักษณะของ การ หลงลืมง่าย ความคิดอ่านช้าลง ลังเล ตัดสินใจไม่แน่นอน ไม่มั่นใจในตนเอง ผู้ป่วยจะมองโลกภายนอก รวมถึงมองชีวิตตัวเองในแง่ลบ คิดว่าชีวิตตนเองไม่มีคุณค่า ไม่มีความหมายต่อใคร ผู้ป่วยบางคนมีความรู้สึกผิดหรือกล่าวโทษ ตำหนิตนเองต่อสิ่งที่ตนเองได้กระทำลงไป แม้เป็นการกระทำที่ผู้อื่นเห็นเป็นเรื่องเล็กน้อย ความคิดอยากตายพบได้ถึงร้อยละ 60 และพบว่ามีการฆ่าตัวตายร้อยละ 15 ในช่วงแรกผู้ป่วยอาจแค่รู้สึกเบื่อชีวิต ไม่ทราบจะมีชีวิตอยู่ต่อไปทำไม เมื่ออาการเป็นมากขึ้นจะรู้สึกอยากตาย อยากวิ่งให้รถชน ต่อมาจะคิดถึงการฆ่าตัวตาย เริ่มมีการคิดถึง วิธีการ มีการวางแผน จนถึงการกระทำการฆ่าตัวตายในที่สุด

  4. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • มีรากฐานมาจากแนวคิดเรื่องพฤติกรรมนิยม (Behavirism) และแนวคิดเรื่องจิตวิทยาการรู้-การคิด(Cognitive Psychology) มีความเชื่อหลักอยู่ 3 ประการคือ • ความคิดมีผลต่อพฤติกรรม • ความคิดเป็นสิ่งที่สามารถคบคุมและเปลี่ยนแปลงได้ • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เหมาะสมทำได้โดยการเปลี่ยนความคิด • การบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมพัฒนาขึ้นโดย Aron Beck โดยมีความเชื่อว่า อารมณ์ที่ผิดปกติของคนเรานั้นเป็นผลมาจากการบิดเบือนความคิดหรือการประเมินเหตุการณ์ในชีวิตด้วยความคิดที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง

  5. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • Beck กล่าวว่าอารมณ์ซึมเศร้าเกิดจากการคิดการเข้าใจ 3 สิ่ง (Cognitive triad) ผิดพลาด ของ 3 สิ่งในที่นี้หมายถึง ตนเอง โลกและอนาคต การคิดการเข้าใจที่ผิดพลาด (Cognitive Error) เกิดจากการที่ผู้ป่วยมีแบบแผนการคิดไปในทางลบ (Negative Thought) ซึ่งจะนำไปสู่พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม (Maladaptive Behavior)

  6. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT)

  7. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • แบบแผนความคิด (Schemas) Beck ให้ความหมายว่าเป็นแบบแผนการคิดที่ใช้ในการดำเนินชีวิตซึ่งพัฒนามาตั้งแต่วัยเด็กและมีบทบาทในการช่วยในการปรับตัว การนำข้อมูลข่าวสารที่ได้มาเชื่อมโยงเพื่อช่วยในการตัดสินใจ การเจ็บป่วยทางจิตส่วนหนึ่งเกิดจากความผิดปกติของความคิดซึ่งส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ นำไปสู่พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

  8. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • ตัวอย่างของ Adaptive Schemas และ Maladaptive Schemas

  9. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • ตัวอย่างของ Adaptive Schemas และ Maladaptive Schemas

  10. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • ตัวอย่างของ Adaptive Schemas และ Maladaptive Schemas

  11. การรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าด้วยการบำบัดแบบปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior Therapy:CBT) • ตัวอย่างของ Adaptive Schemas และ Maladaptive Schemas

More Related