1 / 10

อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน

อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน. ดร พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23 กรกฎาคม 2557. การเปลี่ยนแปลงในช่วง ครึ่งแรกของปี 2557. ภาวะเศรษฐกิจอยู่ในสภาพถดถอย GDP ติดลบ เพราะการใช้จ่ายชะลอตัว การใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนเอกชน การบริโภคของประชาชน

Download Presentation

อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน ดร พิสิฐ ลี้อาธรรม คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23กรกฎาคม 2557

  2. การเปลี่ยนแปลงในช่วง ครึ่งแรกของปี 2557 • ภาวะเศรษฐกิจอยู่ในสภาพถดถอย GDP ติดลบ เพราะการใช้จ่ายชะลอตัว • การใช้จ่ายภาครัฐ • การลงทุนเอกชน • การบริโภคของประชาชน • การส่งออกและการนำเข้า ที่สำคัญคือการใช้จ่ายภาครัฐจากงบประมาณปี 2558 ไม่มีความชัดเจน การรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557ได้เปลี่ยนทิศทางของการใช้จ่ายเริ่มเข้าสู่ปกติ

  3. ปัจจัยต่างประเทศ • การฟื้นตัวใน ประเทศพัฒนาแล้ว เช่น • สหรัฐอเมริกา • ยุโรป • ญี่ปุ่น • ประเทศในเอเชียมีการชะลอตัว • จีน • อินเดีย • อินโดนีเซีย • ตะวันออกกลางและรัสเซีย • มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างช้าๆ • การว่างงานลดลง • เงินเฟ้อยังต่ำ • แต่อัตราดอกเบี้ยยังตรึงไว้ต่ำ • การถอนนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยนโยบายการเงิน ที่ผ่อนปรน

  4. ตลาดทุนโลก และ ตลาดทุนไทย ตลาดทุนโลก ตลาดทุนไทย • ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจและการเงิน 2007-9 • ตลาดหุ้น • ตลาดตราสารหนี้ • บทบาทของเงินหยวน • การตั้งองค์กรการเงินโลกขนานกับ IMF/WB/ADB

  5. การเปลี่ยนแปลงตั้งแต่วันที่22 พค 2557 • การฟื้นตัวของการใช้จ่ายรวม/ • การจัดระเบียบสังคมให้ปฏิบัติตามกฏหมาย / • การปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม? • ด้านเศรษฐกิจ • ด้านการเงินการคลัง • ด้านการปกครอง

  6. การปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม :เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้มีความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ภาคเศรษฐกิจ: ความเพียงพอ ภาคสังคม: การกระจายให้ทั่วถึง คน คุณภาพชีวิตของเด็ก สตรี คนชรา การศึกษาและการมีงานทำ สถาบันครอบครัว สิ่งแวดล้อม • เกษตร • อุตสาหกรรม • บริการ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ประชาชนให้อยู่ในสังคมที่ติดกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายใน 10 ปีข้างหน้า

  7. การปฏิรูประบบการเงินการคลัง: เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการเงินและความมั่นคง • ระบบงบประมาณและหนี้สาธารณะ • ระบบธนาคารของรัฐ • ระบบการร่วมทุนของรัฐวิสาหกิจกับเอกชน (PPP) • ระบบการออมและความมั่นคงของสถาบันการเงิน • การพัฒนาตลาดทุน เพื่อ sme

  8. การปฏิรูประบบการปกครอง เพื่อแก้ปัญหาคอรัปชั่น และอุปสรรคการทำงานของระบบเศรษฐกิจและสังคม • ระบอบการเลือกตั้งและรัฐธรรมนูญ • ระบบราชการ บทบาทอำนาจของภาครัฐ • การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น • การยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย

  9. What is needed? • Implementation • Implementation • Implementation

  10. Pisitleeahtam@gmail.com

More Related