1 / 13

ครัวเรือนยากจน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ.

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข. ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์. ชุมชน/หมู่บ้าน มีความสุขมวลรวมชุมชน ( GVH ) เพิ่มขึ้น. ครัวเรือนยากจน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. คุณภาพ การให้บริการ. เสริมสร้างความสุขมวลรวม หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง.

sine
Download Presentation

ครัวเรือนยากจน มีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ชุมชน/หมู่บ้านมีความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) เพิ่มขึ้น ครัวเรือนยากจนมีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. คุณภาพการให้บริการ เสริมสร้างความสุขมวลรวมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ สนับสนุนสื่อและเครื่องมือ พัฒนากลไกการบูรณาการความยากจน พัฒนา/ส่งเสริมระบบฐานข้อมูลชุมชน การพัฒนาองค์กร

  2. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขกลยุทธ์ ๑.๑ แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ยุทธ ผู้มีส่วนร่วม : ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ครัวเรือนยากจนมีรายได้ผ่านเกณฑ์ จปฐ. พัฒนากลไก/เครือข่าย และฐานข้อมูล ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ธ.ค.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๙ • ทบทวนกลไกและสร้างความเข้าใจ(๒๑ คณะ) • ตรวจสอบข้อมูล และค้นหาครัวเรือน ยากจนเป้าหมาย (๑,๓๑๗ ครัวเรือน) • สร้างเครือข่ายภาคีแก้ไขปัญหา ความยากจน (๑ เครือข่าย) • ส่งเสริมกระบวนการชุมชนแก้ไข ปัญหาความยากจน (๑,๓๑๗ ครัวเรือน) • ติดตามและประเมินผล (๒๐ อำเภอ ๑,๓๑๗ ครัวเรือน) Flagship โครงการ/กิจกรรม Quickwin 2

  3. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : ส่งเสริมชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขกลยุทธ์ ๑.๒ เสริมสร้างความสุขมวลรวมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ส่งเสริมการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ชุมชน/หมู่บ้านมีความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) เพิ่มขึ้น แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ • พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (ปีละ ๒๐ หมู่บ้าน รวม ๑๐๐ หมู่บ้าน) • รักษามาตรฐานการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ (๑๖๓ หมู่บ้าน) • ประเมินความสุขมวลรวม (๑๖๓ หมู่บ้าน) Flagship Flagship โครงการ/กิจกรรม 3

  4. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ ผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน ชุมชนนำแผนชุมชนไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ ข้อมูล จปฐ.และกชช.2ค ได้รับการยอมรับ และใช้ประโยชน์ ชุมชนมีการจัดการความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ พัฒนาคุณภาพชีวิตและเผยแพร่ คุณภาพการให้บริการ ส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ส่งเสริมการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน เพิ่มขีดความสามารถผู้นำกลุ่ม องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชนแบบมืออาชีพ ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จัดทำฐานข้อมูลด้านการบริหารจัดการชุมชน พัฒนาบุคลากรให้เป็นนักจัดการชุมชน สร้างคลังข้อมูลชุมชน การพัฒนาองค์กร

  5. ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๑ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชนแบบมืออาชีพ ผู้นำ กลุ่ม องค์กร เครือข่าย มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน พัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาชุมชน สร้างคุณค่าผู้นำ เครือข่าย แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ –ก.ย.๒๕๕๙ • พัฒนาระบบบูรณาการรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่าย (๒ เครือข่าย) • ส่งเสริมและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) (ปีละ ๔๐คน/๒๐ กลุ่ม/๒๐ เครือข่าย/๒๐ หมู่บ้าน) • เสริมสร้างพลังเครือข่ายพัฒนาความร่วมมือ NGO และภาพเอกชน (๒ เครือข่าย) • เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการของศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน/สมาคม/สมาพันธ์ (๒๐ องค์กร) • ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการ องค์กรและเครือข่ายสตรี และเยาวชน(๒๐ เครือข่าย) • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารงานพัฒนาชุมชน(๒๐ อำเภอ) • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารของจังหวัด/อำเภอ(๒๑คณะ) • ส่งเสริมบทบาท อช./ผู้นำ อช. ให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชน (๓๔๖ คน) • พัฒนาเส้นทางความก้าวหน้าของผู้นำชุมชนและเครือข่าย(๒๘๐ คน ๒ เครือข่าย) • จัดตั้งคณะกรรมการความร่วมมืออาสาสมัครทุกระดับและภาคส่วน(๒๑ คณะ) • เพิ่มศักยภาพองค์กร เครือข่าย ผู้นำชุมชน ผู้นำสตรี และผู้นำเยาวชน ให้เป็นผู้ชำนาญการด้านการบริหารจัดการชุมชน(ปีละ ๒๑ ครั้ง) • ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้นำการพัฒนาดีเด่น (ปีละ ๒๐ คน) • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานในระดับจังหวัด (ปีละ ๑๒ ครั้ง) Flagship Quickwin โครงการ/กิจกรรม Flagship 5

  6. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๒ ส่งเสริมการบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ยุทธฯ ผู้มีส่วนร่วม : ก.ส่งเสริม ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนากลไก ในการขับเคลื่อนแผนชุมชน พัฒนาระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เพิ่มมูลค่าแผนชุมชนสู่นโยบายระดับชาติ แผนชุมชนนำไปปฏิบัติและแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ แผนงาน ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๙ • ส่งเสริมและพัฒนาวิทยากรกระบวนการชุมชน (๒๑ คณะ) • เพิ่มประสิทธิภาพศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนในการขับเคลื่อนแผนชุมชน (๒๐ คณะ) • บูรณาการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒๑ คณะ) • ประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน/ตำบล (๗๐% ของหมู่บ้าน) • ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายกรรมการทำแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานแผนชุมชน (๒๑ เครือข่าย) • สร้าง MOU กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานอื่น เพื่อพัฒนาความเชื่อมั่นของระบบแผนชุมชน (๒ หน่วยงาน) • แลกเปลี่ยนเรียนรู้การก้าวสู่แผนชุมชนมีคุณภาพมาตรฐาน และวาระแห่งชุมชน (ปีละ ๕ ครั้ง) • ส่งเสริมแผนชุมชนในการจัดทำยุทธศาสตร์ชุมชนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (๔ หมู่บ้าน) นำร่อง Flagship Best Practice Best Practice โครงการ/กิจกรรม 6

  7. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๓ ส่งเสริมการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.สารสนเทศ ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.ส่งเสริม ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนาระบบบริหารการจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาชนบทให้มีคุณภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ประโยชน์ของข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท แผนงาน ข้อมูล จปฐ. และ กชช.๒ค ได้รับการยอมรับและใช้ประโยชน์ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ • พัฒนากระบวนการบริหารข้อมูล เพื่อการพัฒนาชนบทไทย (๑ กระบวนการ) • องค์กรปกครองท้องถิ่นนำร่อง “ข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องทุกครัวเรือน” (๒๐ อปท.) • นำเสนอระเบียบวาระแห่งจังหวัดเรื่อง คุณภาพชีวิตของคนร้อยเอ็ด (ปีละ ๑ ครั้ง) • นำเสนอระเบียบวาระแห่งจังหวัด เรื่องคุณภาพชีวิตของคนร้อยเอ็ด ระดับอำเภอ (ปีละ ๒๐ ครั้ง) • ส่งเสริมและสนับสนุนให้นายก อปท.และ ปลัด อปท. ใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ.กชช.๒ค อย่างจริงจัง (๒๐ แห่ง) Quickwin Quickwin โครงการ/กิจกรรม

  8. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนบริหารจัดการแบบบูรณาการกลยุทธ์ ๒.๔ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.สารสนเทศ/ก.ยุทธฯ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. พัฒนากลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนการจัดการความรู้ชุมชน สร้างเครือข่ายการจัดการความรู้ แผนงาน ชุมชนมีการจัดการความรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์พัฒนาคุณภาพชีวิตและเผยแพร่ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ ม.ค.-ก.ย. ๒๕๕๕ • พัฒนารูปแบบศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่เหมาะสม (ปีละ ๔ แห่ง) • สร้างและพัฒนาเครือข่ายนักจัดการความรู้ ภาคประชาชน (ปีละ ๔ แห่ง) • พัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ชุมชน (ปีละ ๑ คลังความรู้) • พัฒนาสื่อสำหรับนักจัดการความรู้ ภาคประชาชน (ปีละ ๑ ชุดความรู้) • จัดทำคู่มือแนวทางสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชุมชน (๑ ชุด/คู่มือ) • จัดทำมาตรฐานศูนย์เรียนรู้ชุมชน (๑ มาตรฐาน) นำร่อง • พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ (Community Center) (จุดเรียนรู้ชุมชน ศูนย์เก็บความรู้ ศูนย์เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้สมบูรณ์แบบ) (๗ ศูนย์) • KM Mobile (ปีละ ๔ ครั้ง) • บูรณาการศูนย์เรียนรู้ชุมชนกับกระทรวงไอซีที และกระทรวงศึกษาธิการ (ปีละ ๑ ศูนย์) • เชิดชูเกียรตินักจัดการความรู้และชุมชน แห่งการเรียนรู้ (ปีละ ๑ ครั้ง/๔ แห่ง) • สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ปีละ๕ ครั้ง) • พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านไทยเพื่อการเรียนรู้ของชุมชนทางเครือข่ายออนไลน์ (www.moobanthai.com)(๒๐ หมู่บ้าน) Best Practice Quickwin โครงการ/กิจกรรม Quickwin

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ กลุ่มผู้ผลิต ผูประกอบการ เครือข่าย OTOPมีขีดความสามารถบริหารจัดการสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและมาตรฐาน ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ผลิต ผู้ประกอบการOTOPมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น คุณภาพการให้บริการ ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมช่องทางการตลาด เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่ายOTOP ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ พัฒนาฐานข้อมูลเศรษฐกิจฐานรากและคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาองค์ความรู้การพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาบุคลากรด้านเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การพัฒนาองค์กร

  10. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๑ เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่าย OTOP ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ. ส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP แผนงาน กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เครือข่าย OTOPมีขีดความสามารถบริหารจัดการสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๕ • ส่งเสริมประสิทธิภาพแผนธุรกิจ ( ๒๐๕ กลุ่ม) • ประเมินคุณภาพแผนธุรกิจ (๓๐๙ กลุ่ม) • พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ด้านการผลิต การบริหาร จัดการ การตลาด และการบริหารเครือข่ายในเชิงธุรกิจ ( ๒๐๕ กลุ่ม) • ส่งเสริมอาสาพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก (๒๐ คน) Flagship โครงการ/กิจกรรม Flagship 10

  11. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๒ ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน แผนงาน ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพและมาตรฐาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • ส่งเสริมกระบวนการ KBO สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์(๑๑๒ ผลิตภัณฑ์) • ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่กระบวนการคัดสรร หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (๒๖๗ ผลิตภัณฑ์) • ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐาน (๒๖๗ ผลิตภัณฑ์) • คัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP ดีเด่นของจังหวัด (Provincial star OTOP : PSO) (๒ ผลิตภัณฑ์) Flagship Flagship โครงการ/กิจกรรม Best Practice 11

  12. ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๓ ส่งเสริมการอนุรักษ์สืบสานและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาและอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น แผนงาน ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • ขึ้นทะเบียนปราชญ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน (Hall of Fame) (๕ ประเภท ๒๐ คน) • บันทึกตำนาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น(๑๓๗ ชุมชน) • พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (ปีละ ๑ หมู่บ้าน) • ส่งเสริมและพัฒนาเยาวชน OTOP(ปีละ ๑ รุ่น) • เผยแพร่ภูมิปัญญา ท้องถิ่นผ่านสื่อ สาธารณะ (๓ ช่องทาง) • ส่งเสริมการนำข้อมูลคลัง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ ประโยชน์(๓ ช่องทาง) Flagship Quickwin โครงการ/กิจกรรม Flagship Best Practice 12

  13. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์กลยุทธ์ ๓.๔ ส่งเสริมช่องทางการตลาด ผู้รับผิดชอบหลัก : ก.ส่งเสริม ผู้มีส่วนร่วม : ก.ยุทธ/ก.สารสนเทศ ผู้ปฏิบัติ : สพอ./สพจ. ส่งเสริมช่องทางการตลาด OTOP แผนงาน ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOPมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ต.ค. ๒๕๕๔ -ก.ย. ๒๕๕๙ • การจัดงานถนนคนเดิน (ปีละ ๔ ครั้ง) • ส่งเสริมช่องทางการตลาดเชิงรุก (OTOP Delivery/OTOP to the Factory/OTOP Mobile(ปีละ ๒ ครั้ง) • พัฒนาศูนย์ตำนาน OTOP ROIET สู่OTOP Distribution Province Center : DPC (๑ แห่ง) Flagship โครงการ/กิจกรรม Quickwin 13

More Related