1 / 24

การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต

การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต. พญ.ผกา วราชิต นายกสมาคมแม่บ้านสาธารณสุข. งาน. ปัจจัย ๔. เงิน. วิกฤติ. สุขภาพ. สังคม. ครอบครัวญาติมิตร. งาน. อิทธิบาท ๔ :- ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา สัมมาอาชีพ :- กายสุจริต วจีสุจริต.

Download Presentation

การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้หลักศาสนาฝ่าวิกฤติชีวิตการใช้หลักศาสนาฝ่าวิกฤติชีวิต พญ.ผกา วราชิตนายกสมาคมแม่บ้านสาธารณสุข

  2. งาน ปัจจัย ๔ เงิน วิกฤติ สุขภาพ สังคม ครอบครัวญาติมิตร

  3. งาน • อิทธิบาท ๔ :- ฉันทะ วิริยะ • จิตตะ วิมังสา • สัมมาอาชีพ :- กายสุจริต • วจีสุจริต

  4. รู้จักหา(ขยันหาทรัพย์โดยสุจริต)รู้จักหา(ขยันหาทรัพย์โดยสุจริต) • รู้จักใช้(ใช้ ๑ ส่วน, งาน ๒ ส่วน, ออม ๑ ส่วน) • รู้จักออม(ภูมิคุ้มกัน) • รู้จักพอ(จ่ายน้อยกว่ารับ, ไม่เป็นหนี้) • เว้นอบายมุข ๖(ทางเสื่อมแห่งโภคทรัพย์:- ดื่มน้ำเมา, เที่ยวกลางคืน, ดูการละเล่น, เล่น การพนัน, คบมิตรชั่ว, เกียจคร้าน) เงิน

  5. ปัจจัย๔ • อาหาร เพื่อบำบัดทุกขเวทนาเก่า และไม่สร้าง ทุกขเวทนาใหม่ • เครื่องนุ่งห่ม เพื่อป้องกันหนาวร้อน และปกปิดความ ละอาย • ที่อยู่อาศัย เพื่อกันอันตรายจากแดดลม อากาศ สัตว์เลื้อยคลานฯ • ยารักษาโรค เพื่อรักษาธาตุขันธ์ให้พออยู่ได้

  6. สุขของคฤหัสถ์ • สุข เกิดแต่ความมีทรัพย์ • สุข เกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค • สุข เกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้ • สุข เกิดแต่ประกอบการงานที่ ปราศจากโทษ

  7. ญาติมิตร สังคม • เว้นกายทุจริต (ฆ่าสัตว์, ลักทรัพย์, ผิดกาม) • เว้นวจีทุจริต (พูดปด, หยาบคาย, ส่อเสียด, เพ้อเจ้อ) • เว้นอคติ๔ (ลำเอียงเพราะรัก, ชัง, เขลา, กลัว) • ** วาจาสุภาษิต :- พูดถูกกาล, สัจจะ, อ่อนหวาน, เป็นประโยชน์, ด้วยเมตตา).................................................

  8. สังคหวัตถุ ๔ • ทาน • ปิยวาจา • อัตถจริยา • สมานัตตตา

  9. ธรรมเพื่อความสุขในปัจจุบันธรรมเพื่อความสุขในปัจจุบัน • ถึงพร้อมด้วยความหมั่น • ถึงพร้อมด้วยการรักษา • กัลยณมิตตตา (คบหาผู้มีศรัทธา, ศีล, จาคะ, ปัญญา) • สมชีวิต (เลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่ทรัพย์)

  10. โลกธรรม ๘

  11. โลกธรรม ๘ (ต่อ)

  12. ไม่รู้ =อวิชชา สัจจธรรม ธรรมชาติของชีวิต ไม่ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น (ฝืนความเป็นจริง) ทุกข์ใจ/วิกฤติ

  13. ธรรมชาติของชีวิต • อริยสัจ ๔ • ไตรลักษณ์ • ปฏิจจสมุปบาท (ความเป็นเหตุปัจจัย)

  14. อวิชชา สังขาร กิเลส กรรม วิญญาณ มรณะ โสกะฯ อดีตเหตุ นามรูป วิบาก ปฏิจจ. วัฏฏสงสาร อนาคตผล ปัจจุบันผล สฬายนตะ ชาติ ชรา วิบาก ปัจจุบันเหตุ* ผัสสะ กรรม เวทนา กิเลส ภพ ตัณหา อุปทาน

  15. เชื่อ / รู้สัจจธรรม / ธรรมชาติของชีวิต *ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น(วิบาก) ในปัจจุบัน ไม่ทุกข์ใจเพิ่มขึ้น มีปัญญาแก้ไขปัญหา

  16. ปัญญาแก้ปัญหาวิกฤติ หาสาเหตุของปัญหา (เหตุปัจจัย) ปัจจัยภายในตัวเราเอง ปัจจัยภายนอก • ถ้าแก้ไขไม่ได้ ยอมรับ ปล่อยวาง • แก้ไขได้ทำปัจจุบันให้ดีที่สุด

  17. ไตรลักษณ์สามัญญลักษณะไตรลักษณ์สามัญญลักษณะ • อนิจจัง ความไม่เที่ยง • ทุกขัง ทุกข์, ทนได้ยาก • อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้

  18. อริยสัจ ๔

  19. ทุกข์ = อุปาทานขันธ์ ๕ ทุกข์ - ประจำกาย - เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกข์ใจ - ไม่สบายใจ, คับแค้นใจ - พลัดพรากจากสิ่งที่รัก - ประสบสิ่งที่ไม่ชอบ - คร่ำครวญ พิไรรำพัน

  20. อภิณปัจจเวกขณ์ ๕ • ควรพิจารณาเนืองๆ ทุกวันว่า • เรามีความแก่เป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ • เรามีความเจ็บเป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ • เรามีความตายเป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ • เราต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น • เรามีกรรมเป็นของตน ทำกรรมใดไว้ย่อมได้รับผลของ กรรมนั้น

  21. ทุกข์มีเพราะยึด ทุกข์ยืดเพราะอยาก ทุกข์มากเพราะพลอย ทุกข์น้อยเพราะหยุด ทุกข์หลุดเพราะปล่อย

  22. กระทำ ดำริ วาจา ปัญญา ความเห็น ศีล มรรค ๘ อาชีพ สมาธิ สมาธิ เพียร สติ

  23. มีความเห็นถูก ? • เห็นทุกข์ รู้ทุกข์ + สาเหตุ ? • ตั้งใจจะละกิเลสตัณหาฯ ? • ตั้งใจจะละเจริญมรรค (ศีล สมาธิ ปัญญา) ?

  24. ศึกษา เห็นถูก, ดำริถูก รู้แนวทาง การปฏิบัติ - รักษาศีล - เจริญภาวนา วิปัสสนากรรมฐาน สติปัฎฐาน๔

More Related