1 / 33

นายศุภวิชญ์ อาจเอี่ยม รหัสนักศึกษา 49010990 นายสัมพันธ์ จูเภา รหัสนักศึกษา 49011023

อินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับการแก้ปัญหา แรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะในระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 400 โวลต์ A multilevel inverter for solving voltage sag problems in a 400 V distributed system. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม. นายศุภวิชญ์ อาจเอี่ยม รหัสนักศึกษา 49010990

sian
Download Presentation

นายศุภวิชญ์ อาจเอี่ยม รหัสนักศึกษา 49010990 นายสัมพันธ์ จูเภา รหัสนักศึกษา 49011023

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับการแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะในระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 400 โวลต์ A multilevel inverter for solving voltage sag problems in a 400 V distributed system

  2. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม นายศุภวิชญ์ อาจเอี่ยม รหัสนักศึกษา 49010990 นายสัมพันธ์ จูเภา รหัสนักศึกษา 49011023 นายสารเดช วรนาวิน รหัสนักศึกษา 49011027 นายสิทธิชัย แซ่เฮ้ง รหัสนักศึกษา 49011031 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

  3. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาลักษณะการทำงานของอินเวอร์เตอร์หลายระดับ (Multilevel Inverter) • เพื่อแก้ไขปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ • เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องต้นแบบสำหรับการใช้ งานจริงต่อไป

  4. ปัญหาของแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะปัญหาของแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ • ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดความเสียหาย • กระบวนการผลิตเกิดการหยุดชะงัก • ทำให้คุณภาพของระบบไฟฟ้าลดลง

  5. ขอบเขตของโครงงาน • ออกแบบ สร้างชุดคอนโทรล และชุดเพาเวอร์ ที่สามารถ ชดเชยแรงดันไฟฟ้าตกได้ 20% ของแรงดันปกติ • ออกแบบ สร้างเอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ ขนาด 3 kW. โดยใช้แหล่งจ่ายกระแสตรงแยกอิสระ • วิเคราะห์ผลเอาท์พุทที่ได้จากเอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์11ระดับ • วิเคราะห์ผลในการเชื่อมต่อกับภาระทางไฟฟ้า

  6. แผนผังการต่ออินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะแผนผังการต่ออินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ แบบที่ 1 การต่อขนานเข้ากับระบบ

  7. แผนผังการต่ออินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะแผนผังการต่ออินเวอร์เตอร์หลายระดับสำหรับแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ แบบที่ 2 การต่ออนุกรมเข้ากับระบบ [1] N. Hatano and T. Ise. “A configuration and control method of cascade H-bridge STATCOM”

  8. ขั้นตอนการทำงานของระบบขั้นตอนการทำงานของระบบ แหล่งจ่ายไฟฟ้า ภาระทางไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ 11ระดับ อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก

  9. แผนผังการจำลองการชดเชยแรงดันไฟฟ้าด้วย MATLAB/Simulink อินเวอร์เตอร์ 11ระดับ ระบบตรวจจับแรงดันตก แหล่งจ่าย (การไฟฟ้า)

  10. อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตกอุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก แหล่งจ่ายไฟฟ้า ภาระทางไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ 11ระดับ อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก

  11. การตรวจจับแรงดันไฟฟ้าตกการตรวจจับแรงดันไฟฟ้าตก • แผนผังการควบคุมแรงดันไฟฟ้าตก [2] Takushi Jimichi, Hideaki Fujita and Hirofumi Akagi “Design and Experimentation of a Dynamic Voltage Restorer Capable of Significantly Reducing an Energy-Storage Element”

  12. แรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ

  13. อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตกอุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก แหล่งจ่ายไฟฟ้า ภาระทางไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์11ระดับ อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก

  14. โครงสร้างของอินเวอร์เตอร์ 11ระดับ Phase A Phase B Phase C INV 1 INV 1 INV 1 INV 2 INV 2 INV 2 INV 3 INV 3 INV 3 INV 4 INV 4 INV 4 ฟูลบริดจ์อินเวอร์เตอร์ 1cell INV 5 INV 5 INV 5

  15. ข้อดีของ อินเวอร์เตอร์ 11ระดับ THDvp = 11.16% • ให้แรงดันเอาท์พุทที่มีคุณภาพสูง • ฮาร์มอนิกส์ต่ำ • ลดความเครียดจาก dv/dt ของสวิตช์ • ถ้าเซลล์ของอินเวอร์เตอร์ หรือแหล่งจ่าย ตัวใดตัวหนึ่ง เกิดความเสียหาย อุปกรณ์ก็ยังสามารถทำงานได้ THDvp = 62.29%

  16. ข้อดีของ cascadeH-bridge inverter • สามารถแก้ไขปัญหาแรงดันไม่สมดุลของตัวเก็บประจุ • มีการเริ่มชาร์จตัวเก็บประจุตลอดเวลา • สามารถสร้างแรงดันเอาท์พุตได้หลายระดับ

  17. การสร้างสัญญาณ PWM • การคำนวณค่าดัชนีขนาดม็อดดูเลชั่น Ma = เมื่อ Maคือ ดัชนีขนาดม็อดดูเลชั่น Asinคือ ขนาดสัญญาณอ้างอิง Acarreirคือ ขนาดสัญญาณพาหะรูปสามเหลี่ยม

  18. การสร้างสัญญาณ PWM(ต่อ) • การคำนวณค่าดัชนีความถี่ม็อดดูเลชั่น Mf = เมื่อ Mf คือ ดัชนีความถี่ม็อดดูเลชัน Fsinคือ ความถี่สัญญาณอ้างอิง Fcarrierคือ ความถี่สัญญาณพาหะรูปสามเหลี่ยม

  19. %THDvl = 7.04 การสร้างสัญญาณ PWM (ต่อ) • จำนวนระดับของแรงดันเฟส Np = 2n + 1 • จำนวนระดับของแรงดันไลน์ NL = 4n – 1 โดยที่ n = จำนวนอินเวอร์เตอร์ THDvp = 11.16% 11 %THDvp = 11.16 19 18 10 THDvl = 7.04% 17 16 9 15 14 8 13 12 7 11 6 10 9 5 8 4 7 6 3 5 4 2 3 2 1 1

  20. การม็อดดูเลทสัญญาณ PWM 11 ระดับที่ดัชนีม็อดดูเลชั่น(ma) = 1

  21. สัญญาณ PWMของอินเวอร์เตอร์แต่ละตัว INV 1 INV 2 INV 3 INV 4 INV 5

  22. สัญญาณ PWMของอินเวอร์เตอร์แต่ละตัว INV 1 INV 2 INV 3 INV 4 INV 5

  23. สัญญาณ PWMของอินเวอร์เตอร์แต่ละตัว INV 1 INV 2 INV 3 INV 4 INV 5

  24. สัญญาณ PWMของอินเวอร์เตอร์แต่ละตัว INV 1 INV 2 INV 3 INV 4 INV 5

  25. สัญญาณ PWMของอินเวอร์เตอร์แต่ละตัว INV 1 INV 2 INV 3 INV 4 INV 5

  26. สัญญาณ PWM ทั้ง 11ระดับ

  27. อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตกอุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก แหล่งจ่ายไฟฟ้า ภาระทางไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์11ระดับ อุปกรณ์ตรวจจับแรงดันตก

  28. แรงดันไฟฟ้าที่ชดเชยจากอินเวอร์เตอร์แรงดันไฟฟ้าที่ชดเชยจากอินเวอร์เตอร์

  29. แรงดันไฟฟ้าหลังชดเชย

  30. ความก้าวหน้าของโครงงานความก้าวหน้าของโครงงาน ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวกับ เอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ สร้างระบบตรวจจับแรงดันไฟฟ้าตกและระบบชดเชยแรงดันไฟฟ้า จำลองระบบชดเชยแรงดันไฟฟ้าตก ด้วยโปรแกรม MATLAB/Simulink เขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรเลอร์ควบคุมการทำงานของเอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ สร้างแหล่งจ่ายไฟแบบสวิชชิ่ง ให้กับชุดขับสัญญาณเกต สร้างเอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ ทดสอบการทำงานของเอช-บริดจ์ อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ และบันทึกผล สร้างแหล่งจ่ายไฟกระแสตรงให้กับ เอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ สรุปผล และนำเสนอโครงงาน

  31. ชิ้นงานที่จัดสร้างแล้วชิ้นงานที่จัดสร้างแล้ว แหล่งจ่ายไฟแบบสวิทชิ่ง เอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ

  32. สรุป • จากผลการจำลองด้วยโปรแกรม MATLAB/Simulink แสดง ให้เห็นว่าสามารถนำ เอช-บริดจ์อินเวอร์เตอร์ 11 ระดับ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะได้ • สามารถนำมาเป็นแนวทางในการสร้างเครื่องต้นแบบสำหรับ การใช้งานจริง

  33. ขอบคุณครับ

More Related