1 / 25

การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA

การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA. เจ้าของโครงการ ลักษณะ (ประเภท)/ รูปแบบ (ขนาด)/ ที่ตั้ง+ทางเลือก ประเภท/กิจการ/กิจกรรมหลัก ขนาดโครงการ - หน่วยงานอนุญาตหลัก

shufang
Download Presentation

การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพิจารณาโครงการหรือกิจการเข้าข่ายต้องจัดทำ EIA เจ้าของโครงการ ลักษณะ(ประเภท)/รูปแบบ(ขนาด)/ที่ตั้ง+ทางเลือก ประเภท/กิจการ/กิจกรรมหลัก ขนาดโครงการ - หน่วยงานอนุญาตหลัก ชื่อ - การใช้ประโยชน์ ตอน-ช่วง/แผนงาน-ระยะ-พื้นที่ - หน่วยงานอนุญาตรอง การใช้งาน-ผลผลิต การพัฒนาขั้นสุดท้าย - การขออนุมัติ(ครม.) กิจกรรมต่อเนื่อง/กิจกรรมย่อยภาพรวมกิจกรรมสุดท้าย - แฝงในการขออนุมัติงบประมาณ เข้าข่ายต้องจัดทำรายงาน เตรียมงบประมาณ+จ้างที่ปรึกษาทำ EIA +ยื่นคำขออนุญาต ประชาสัมพันธ์ เสนอ EIA สผ. เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนการพิจารณารายงานฯ

  2. ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของโครงการด้านคมนาคมที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(Environmental Impact Assessment : EIA )

  3. ประเภท :ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษหรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับทางพิเศษ ขนาด :ทุกขนาด

  4. หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  5. หลักการและเหตุผล เป็นประเภทและขนาดที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามประกาศกระทรวงฯ เดิม หมายเหตุ นิยามของทางพิเศษ และทางหลวงพิเศษ ทางพิเศษ หมายถึง ทางหรือถนนซึ่งจัดสร้างขึ้นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นในระดับพื้นดินหรือเหนือพื้นดินเพื่ออำนวยความสะดวกในการจราจรเป็นพิเศษ และหมายความรวมถึงทางซึ่งใช้สำหรับรถรางเดียวหรือรถใต้ดิน สะพาน อุโมงค์ เรือสำหรับขนส่งรถข้ามฟาก ท่าเรือสำหรับขึ้นลงรถ ทางเท้า ที่จอดรถ เขตทาง ไหล่ทาง เขื่อนกั้นน้ำ ท่อทางระบายน้ำ กำแพงกันดิน รั้วเขต หลักระยะ สัญญาณจราจร เครื่องหมายจราจรและอาคารหรือสิ่งอื่นอันเป็นอุปกรณ์เกี่ยวกับงานทางพิเศษ ทางหลวงพิเศษ หมายถึง ทางหลวงที่ได้อออกแบบเพื่อให้การจราจรผ่านได้ตลอดรวดเร็วเป็นพิเศษ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ประกาศกำหนดให้เป็นทางหลวงพิเศษ และกรมทางหลวง เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง ขยาย บูรณะและบำรุงรักษา อธิบดีกรมทางหลวงเป็นผู้จัดให้ลงทะเบียนไว้ ณ กรมทางหลวง โดยอนุมัติรัฐมนตรี ที่มา : เผ่าพงศ์ นิจจันทร์พนธศร วิศวกรรมการทาง (Highway Engineering สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทเวศร์

  6. ประเภท : ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ ดังต่อไปนี้ • พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า • พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ • พื้นที่เขตลุ่มน้ำชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว • พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ • พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้ำทะเลสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ • พื้นที่ที่อยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศหรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะ 2 กิโลเมตร • พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติในระยะทาง 2 กิโลเมตร • ขนาด :ทุกขนาด

  7. หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  8. หลักการและเหตุผล :ได้ปรับแก้ไขประเภทโครงการหรือกิจการตามประกาศกระทรวงเดิม ดังนี้ 1. ปรับแก้จาก “พื้นที่เขตฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุด” เป็น “พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรห่างจากระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ” เพื่อความชัดเจนและสอดคล้องกับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม

  9. 2. เพิ่ม ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวงที่ตัดผ่านพื้นที่ที่ตั้งอยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร และพื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่งประวัติศาสตร์หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร ต้องจัดทำรายงานฯ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม

  10. ประเภท : ระบบขนส่งมวลชนที่ใช้ราง ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  11. ประเภท : ท่าเทียบเรือ ขนาด : รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส หรือความยาวหน้าท่า ตั้งแต่ 100 เมตร หรือมีพื้นที่ท่าเทียบเรือรวมตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ - กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  12. หลักการและเหตุผล ปรับรายละเอียดของขนาดของโครงการท่าเทียบเรือที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้ครอบคลุมมากขึ้น โดยพิจารณาเงื่อนไข” ความยาวหน้าท่า และ “ พื้นที่ท่าเทียบเรือ” อีก 2 เงื่อนไข นอกเหนือจากที่เคยพิจารณาเฉพาะท่าเทียบเรือที่จะ “ รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสเท่านั้น” เพราะความยาว หน้าท่าและพื้นที่ท่าเทียบเรือเป็นปัจจัยสำคัญและเป็นแหล่งกำเนิดที่สามารถจะก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ลักษณะเดียวกับท่าเทียบเรือที่รับเรือขนาดดังกล่าว

  13. ประเภท : ท่าเทียบเรือสำราญกีฬา ที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Marina : มารีน่า ขนาด : ที่รองรับเรือได้ตั้งแต่ 50 ลำ หรือ 1,000 ตารางเมตร ขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาตโครงการ - กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  14. หลักการและเหตุผล เป็นโครงการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ได้แก่ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงจากสภาพชายฝั่ง กระแสน้ำ และระบบนิเวศจากการขุดดินหรือชายหาดในช่วงก่อสร้าง ผลกระทบต่อมลพิษทางน้ำ ผลกระทบต่อการกีดขวางการสัญจรของชาวประมงพื้นบ้าน ประมงชายฝั่งในพื้นที่ ผลกระทบต่อการใช้พื้นที่สาธารณะและประโยชน์ของมนุษย์ รวมทั้งผลกระทบอันเนื่องมาจากกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น การซ่อมเรือ การสร้างโรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศ อาคารอยู่อาศัยรวมในพื้นที่บริเวณเดียวกัน เป็นต้น

  15. ประเภท : การถมที่ดินในทะเล ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” หลักการและเหตุผล เป็นประเภทและขนาดตามประกาศกระทรวงฯ เดิม

  16. ประเภทและขนาด : การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล • กำแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่งความยาวตั้งแต่ 200 เมตร ขึ้นไป • รถดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่น รอบังคับกระแสน้ำ ทุกขนาด • แนวเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล ทุกขนาด

  17. หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  18. หลักการและเหตุผล โครงการประเภทนี้มักจะดำเนินการเพื่อป้องกันผลกระทบอื่น ที่จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งได้ โดยเฉพาะเกิดการกัดเซาะและการงอกเพิ่มขึ้นของทรายชายฝั่ง ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของชายฝั่ง กรณีกำแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่ง สมควรกำหนดให้โครงการที่มีความยาวตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป ต้องจัดทำรายงานฯ เนื่องจากเป็นขนาดของโครงการที่อาจเกิดผลกระทบต่อการกัดเซาะชายฝั่งส่วนอื่นได้มาก อย่างไรก็ตาม หากโครงการมีความยาวน้อยกว่า 200 เมตร แม้ไม่ต้องทำรายงานฯ แต่จะต้องขออนุญาตจากกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวีก่อนการดำเนินการ

  19. หมายเหตุเทียบเคียงประเภทโครงการภาษาไทยกับศัพท์ภาษาอังกฤษหมายเหตุเทียบเคียงประเภทโครงการภาษาไทยกับศัพท์ภาษาอังกฤษ • - กำแพงริมชายฝั่งติดแนวชายฝั่ง หรือ Seawall • - รอดักทราย (Groin) เขื่อนกันทรายและคลื่น รอบังคับกระแสน้ำ • จะได้ผลตามมาคือ การเสริมทรายชายฝั่ง (Beach Nourishment) • - แนวเขื่อนกันคลื่นนอกชายฝั่งทะเล (Detached breakwater)

  20. โครงการระบบขนส่งทางอากาศโครงการระบบขนส่งทางอากาศ ประเภท : การก่อสร้างหรือขยายสนามบินหรือที่ขึ้นลงชั่วคราวเพื่อการพาณิชย์ ขนาด :ความยาวทางวิ่งตั้งแต่ 1,100 เมตรขึ้นไป • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  21. หลักการและเหตุผล เป็นการปรับแก้ประเภทโครงการหรือกิจการสนามบินพาณิชย์ ทุกขนาด เดิมที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมอยู่แล้วตามประกาศกระทรวงฯ เดิม ประกาศประเภทและขนาดใหม่เพิ่ม “ที่ขึ้นลงชั่วคราว” เนื่องจากโครงการมีการยื่นขออนุญาตเป็นที่ขึ้นลงชั่วคราวไม่เข้าข่ายสนามบินพาณิชย์ อย่างไรก็ตาม หากกำหนดขนาดที่ต้องทำรายงานมีขนาดเล็กเกินไปจะครอบคลุมไปถึงที่ขึ้นลงชั่วคราวของเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งเป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่สุดและสามารถรับเครื่องบินขนาด 14 ที่นั่งได้ ดังนั้น จึงได้ทบทวนข้อมูลจากต่างประเทศแล้วเห็นว่า” สนามบินที่มีความยาวทางวิ่งประมาณ 800 – 1,200 เมตร” กฎหมายองค์การบิน พลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) กำหนดให้บริเวณที่เป็นสนามบินเพื่อการพาณิชย์ ต้องรองรับผู้โดยสารมากกว่า 2,500 คนต่อวันขึ้นไป โดยความยาวทางวิ่ง 800 เมตร จะรับเครื่องบินขนาด 4 ที่นั่ง และความยาวทางวิ่งขนาด 1,200 เมตร จะรับเครื่องบินขนาดไม่ต่ำกว่า 14 ที่นั่ง ดังนั้นจึงเห็นสมควรกำหนดความยาวทางวิ่งขนาด 1,100 เมตร ขึ้นไปให้ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  22. สำหรับผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากโครงการดังกล่าว อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินสูง มีปัญหาเรื่องเสียง การย้ายถิ่นฐานและการเงินคืน รวมทั้งก่อให้เกิดการรอนสิทธิของประชาชนบริเวณเขตความปลอดภัยทางอากาศ คือ ประชาชนในเขตความปลอดภัยทางเดินอากาศไม่สามารถก่อสร้างอาคารสูงเกินข้อกำหนดได้

  23. ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการของประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการของ โครงการด้านคมนาคม ที่ต้องจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น ( Initial Environmental Impact Evaluation: IEE)

  24. ประเภท : สนามบินน้ำ ขนาด : ทุกขนาด • หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ :ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ • กรณีโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการ • ร่วมกับเอกชน ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ให้เสนอ • รายงาน “ในขั้นก่อนขออนุมัติต่อคณะรัฐมนตรี” • กรณีโครงการฯ ซึ่งไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีให้ • เสนอรายงาน • “ ในขั้นขออนุมัติโครงการ ” หรือ • “ ขออนุมัติงบประมาณ ” หรือ • “ ก่อนดำเนินการก่อสร้าง ” • - กรณีโครงการหรือกิจการ ซึ่งต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายให้ เสนอรายงาน

  25. หลักการและเหตุผล โครงการหรือกิจการสร้างสนามบินน้ำ มีผลกระทบจากการก่อสร้างค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่มีกิจกรรมในการสร้างทางวิ่ง แต่อาจมีผลกระทบจากการนำอากาศยานขึ้นลงบนน้ำ ในกรณีพื้นที่เป็นแหล่งธรรมชาติอันสวยงามและทำให้มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ทางทะเล รวมทั้งความปลอดภัยของพื้นที่ท่องเที่ยว เป็นต้น จึงเห็นสมควรให้จัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) - กำหนดหลักเกณฑ์ฯ ให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ

More Related