1 / 37

การ ทดลองแบบ แฟค ตอ เรียล

สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่ โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ. การ ทดลองแบบ แฟค ตอ เรียล. การ ทดลองแบบ แฟค ตอ เรียล (Factorial experiment design) 1. ลักษณะของการทดลองแบบ แฟค ตอ เรียล เนื่องจากต้องการทดลอง ( ทรีทเมนต์) ตั้งแต่ 2 ปัจจัยขึ้นไป เช่น

shlomo
Download Presentation

การ ทดลองแบบ แฟค ตอ เรียล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การทดลองแบบแฟคตอเรียล การทดลองแบบแฟคตอเรียล(Factorial experiment design) 1. ลักษณะของการทดลองแบบแฟคตอเรียล เนื่องจากต้องการทดลอง(ทรีทเมนต์) ตั้งแต่ 2 ปัจจัยขึ้นไป เช่น ปัจจัยที่ 1 = ระดับโปรตีน ปัจจัยที่ 2 = ระดับพลังงาน ไม่ใช่แผนการทดลองแต่เป็นการจัดรูปแบบของทรีทเมนต์ที่ใช้ทดลองใหม่เท่านั้น

  2. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 a2 b2 a1 b1 a2 b2 a2 b1 a1 b1 a1 b2 a2 b2 a1 b1 เช่น ต้องการทราบถึงระดับโปรตีน 2 ระดับ (a) และพลังงาน 2 ระดับ(b)ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไก่พื้นเมือง

  3. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การทดลองที่ 2 b2 b1 b2 b1 b1 b2 b2 b1 เช่น ต้องการทราบถึงระดับโปรตีน 2 ระดับ (a) และพลังงาน 2 ระดับ(b)ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไก่พื้นเมือง การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 3 a2 a1 a1b2 a1b1 a2b1 a1b1 a2 a2b1 a2b2 a1b2 a2b2 a2 = + a1 a1 a1b2 a2b2 a1b2 a2b2 a2 a1 a2b2 a2b1 a1b1 a1b1

  4. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การทดลองที่ 3 เป็นการทดลองที่ใช้แผนการทดลอง CRD ที่มี 4 ซ้ำ โดยทรีทเมนต์ที่ใช้เกิดจากการนำปัจจัย 2 ปัจจัย (โปรตีนและพลังงาน)มาใช้ร่วมกัน เรียก treatment combination (ได้แก่ a1b1 a1b2 , a2b1และ a2b2) เปรียบเทียบ การทดลองที่ 3 กับ การทดลองที่ 1 และ 2 1. แฟคตอเรียลแม่นยำกว่า เนื่องจากได้ซ้ำเพิ่มจากซ้ำแฝง (4 เป็น 8 ซ้ำ) 2. สามารถทดสอบอิทธิผลร่วมระหว่างปัจจัยได้ (โปรตีน+พลังงาน)

  5. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 2. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทดลองแบบแฟคตอเรียล 1. อักษรอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ แทนปัจจัยแต่ละปัจจัย เช่น A, B, C 2. อักษรอังกฤษตัวพิมพ์เล็กพร้อมตัวเลข แทนระดับของปัจจัยแต่ละปัจจัย เช่น a1 , a2 3. อักษรอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ที่เขียนร่วมกัน (Combination) แทนปฏิกิริยาสัมพันธ์หรืออิทธิพลร่วม (Interaction) เช่น AB 4. อักษรอังกฤษตัวพิมพ์เล็กที่เขียนร่วมกัน แทนทรีทเมนต์ที่เกิดจากการรวมกันของปัจจัยต่าง ๆ เช่น a1b1

  6. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 2. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทดลองแบบแฟคตอเรียล 5. ถ้ากำหนดให้ A มีจำนวนระดับเท่ากับ a และปัจจัย B มีจำนวนระดับเท่ากับ b ดังนั้น การทดลองแบบ 2x3 แฟคตอเรียล หมายถึง การทดลองที่มี 2 ปัจจัย โดยปัจจัย A มี 2 ระดับ และปัจจัย B มี 3 ระดับ ซึ่งมีtreatment combination = 6 ทรีทเมนต์ หรือ การทดลองแบบ 4x3x2 แฟคตอเรียล หมายถึง การทดลองที่มี 3 ปัจจัย โดยปัจจัย A มี 4 ระดับ ปัจจัย B มี 3 ระดับและปัจจัย C มี 2 ระดับ ซึ่งมี treatment combination = 24 ทรีทเมนต์

  7. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 2. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการทดลองแบบแฟคตอเรียล 6. ในกรณีที่แต่ละปัจจัยมีจำนวนระดับเท่ากัน เช่นการทดลอง 3 ปัจจัยโดยแต่ละปัจจัยมี 2 ระดับ เขียนได้ 23แฟคตอเรียล ดั้งนั้น 2kแฟคตอเรียล= การทดลองที่มี k ปัจจัย ๆละ 2 ระดับ 3kแฟคตอเรียล= การทดลองที่มี k ปัจจัย ๆละ 3 ระดับ 4kแฟคตอเรียล= การทดลองที่มี k ปัจจัย ๆละ 4 ระดับ

  8. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 3. อิทธิพลหลักและอิทธิพลร่วม อิทธิพลของทรีทเมนต์ที่เกิดขึ้น แยกได้ 2 ประเภท 1. อิทธิพลหลัก (main effects) เป็นอิทธิพลของปัจจัยแต่ละปัจจัย (ความแตกต่างระหว่างระดับของปัจจัย) 2. อิทธิพลร่วม (interaction) เป็นอิทธิพลของปัจจัยตั้งแต่ 2 ปัจจัยขึ้นไป ซึ่งมีปฏิกิริยาสัมพันธ์ต่อกัน เช่น อิทธิพลร่วมของ 2 ปัจจัย

  9. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • สมมุติใช้การทดลอง 22อธิบายได้ดังนี้ • อิทธิพลหลัก (main effects) • A effects = ความแตกต่างของปัจจัย A ที่เกิดขึ้นในทุกระดับปัจจัย B • = • B effects = ความแตกต่างของปัจจัย B ที่เกิดขึ้นในทุกระดับปัจจัย A • =

  10. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สมมุติใช้การทดลอง 22อธิบายได้ดังนี้ 2. อิทธิพลร่วม (interaction) AB interaction = ความแตกต่างระหว่างระดับของปัจจัยหนึ่ง ที่ระดับหนึ่งของอีกหนึ่งปัจจัย =

  11. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สมมุติใช้การทดลอง 22อธิบายได้ดังนี้

  12. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • สมมุติใช้การทดลอง 22อธิบายได้ดังนี้ • อิทธิพลหลัก (main effects) • A effects = • = • B effects = • =

  13. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ สมมุติใช้การทดลอง 22อธิบายได้ดังนี้ 2. อิทธิพลร่วม (interaction) AB interaction = ความแตกต่างระหว่างระดับของปัจจัยหนึ่ง ที่ระดับหนึ่งของอีกหนึ่งปัจจัย = =

  14. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. อิทธิพลกำหนดและอิทธิพลสุ่ม อิทธิพล(effects) หรือปัจจัย(factors) ต่างๆ ที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความผันแปรในข้อมูล จำแนกได้ 2 ประเภท 1. อิทธิพลกำหนด (fix effects) อิทธิพลหรือปัจจัยที่ระดับของมัน สามารถทดลองซ้ำได้ หรือกำหนดซ้ำได้ เช่นอัตราปุ๋ย ระยะปลูก 2. อิทธิพลสุ่ม (random effect) อิทธิพลหรือปัจจัยที่ระดับของมัน เกิดขึ้นโดยสุ่ม หรือไม่สามารถควบคุมได้ เช่น สัตว์แต่ละตัว อากาศแต่ละวัน ฤดูกาลเพาะปลูก

  15. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. แบบหุ่นทางคณิตศาสตร์ Yijk = ค่าสังเกตที่ได้รับทรีทเมนต์ ijตัวที่ k  = ค่าเฉลี่ยทั้งหมด αi = อิทธิพลของปัจจัย A βj = อิทธิพลของปัจจัย B α βij = อิทธิพลร่วมของปัจจัย A และ B ijk = ความคลาดเคลื่อนสุ่มของการทดลอง

  16. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีวิเคราะห์ ค่า Correction term, CT = (Y…ijk)2 /abn (1) Total SS = (2) Treatment SS= (3) A SS = (4) B SS = (5) AB SS =(2) – (3) – (4) (6) Error SS = (1) - (2)

  17. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีวิเคราะห์ จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้

  18. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

  19. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. วิธีทดสอบสมมุติฐาน 1. โดยทั่วไปเริ่มทดสอบอิทธิพลร่วมกันระหว่างปัจจัยทั้งสองก่อน Ho : (αβ)ij= 0 2. ถ้าผลการทดสอบยอมรับ Hoแสดงว่าปัจจัยทั้งสองไม่มีอิทธิพลร่วมกัน(เป็นอิสระต่อกัน) จึงทำการทดสอบอิทธิพลหลัก ดังนี้ การทดสอบอิทธิพลหลักของปัจจัย A Ho : αi = 0 การทดสอบอิทธิพลหลักของปัจจัย B Ho : βj = 0

  20. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. วิธีทดสอบสมมุติฐาน ในการทดสอบ Interaction โดยหากการทดสอบปฏิเสธ Ho : (αβ)ij= 0 แสดงว่าปัจจัยทั้งสองมีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) จะสนใจอิทธิพลหลักลดลงแต่จะทดสอบอิทธิพลร่วมของปัจจัยทั้งแทน ดังนั้นต้องวิเคราะห์ต่อว่า treatment combination ใดให้ผลดีที่สุด ในทางกลับกัน ในการทดสอบอิทธิพลหลัก ถ้าผลการทดสอบปฏิเสธHo : αi = 0 หรือHo : βj = 0 ต้องเปรียบเทียบต่อว่าระดับใด ของ A หรือB ให้ผลดีที่สุด

  21. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.1 ตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน 1. การทดสอบอิทธิพลร่วม Ho : (αβ)ij= 0 ตัวทดสอบ คือ 2.การทดสอบอิทธิพลหลัก 2.1 การทดสอบปัจจัย A Ho : αi = 0ตัวทดสอบ คือ 2.2 การทดสอบปัจจัย B Ho : βi = 0 ตัวทดสอบ คือ

  22. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.2 วิธีวิเคราะห์ ค่า Correction term, CT = (T)2 /abr (1) Total SS = (2) Treatment SS= (3) SSA= (4)SSB = (5) SSAB = SSTr- SSA – SSAB (6) Error SS = SST - SSTr

  23. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • 7.3 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปัจจัย • สำหรับปัจจัยร่วม(Interaction) • โดยวิธี • โดยวิธี DMRT

  24. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • 7.3 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปัจจัย • สำหรับปัจจัย A • โดยวิธี lsd • โดยวิธี DMRT

  25. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • 7.3 การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของปัจจัย • สำหรับปัจจัย B • โดยวิธี lsd • โดยวิธี DMRT

  26. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.4 ตัวอย่างการวิเคราะห์เปรียบเทียบความเข้มข้นและจำนวนครั้งในการพ่นสาร A ที่มีผลต่อความสูงของกุหลาบ(ซม.) ดังนี้

  27. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.3 วิเคราะห์ จะได้ดังนี้ C.T. = Total SS = 2.022+2.062+…+1.552 – C.T. = 37.2464 -36.963 = 0.2861 Treatment SS= = 37.2358-36.9603 = 0.2755

  28. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.3 วิเคราะห์ จะได้ดังนี้ SSA = SSB = SSAB = 0.2755 – 0.1586 - 0.0867 = 0.032 SSE = 0.2861 – 0.2755 = 0.0106

  29. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.3 จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้

  30. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7.3 การทดสอบสมมุติฐาน 1. ทดสอบ Interaction Ho : (αβ)ij= 0 F = MSAB/MSE = 8.53 ค่าทดสอบ F0.01(2,6)= 10.90 ค่าทดสอบ F0.05(2,6)= 5.14 สรุปผล ปฏิเสธ Hoแสดงว่า ปัจจัย A และ B มีอิทธิพลร่วมกัน(ไม่เป็นอิสระ) จึงไม่ต้องทดสอบอิทธิพลหลักแต่ทดสอบอิทธิพลร่วมแทน

  31. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

  32. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ = = • การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยสำหรับปัจจัยร่วม • A = ระดับความเข้มข้น มี 3 ระดับ a1, a2, a3 • B = จำนวนการพ่นสาร มี 2 ระดับ b1, b2 • Treatment combination = 3 * 2 = 6 1. คำนวณหาจำนวนคู่ที่สามารถเปรียบเทียบได้

  33. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • ขั้นตอนการวิเคราะห์ • จัดเรียงค่าเฉลี่ยจากค่าน้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย • a1b1 a1b2 a3b1 a2b1a2b2 a3b2 • 2.04 1.78 1.75 1.74 1.71 1.53 • 2.คำนวณหาค่า lsd

  34. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตแพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขั้นตอนการวิเคราะห์ โดยวิธี lsd 2. คำนวณหาค่า lsd โดย เป็นค่า t จากตาราง t ที่ dfเท่ากับ df (error)

  35. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 3. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของ treatment combination ทุกคู่ คู่ที่ 1 a1b1 - a3b2 = 0.515* > 0.1028 คู่ที่ 2 a1b1 - a2b2 = 0.335*> 0.1028 คู่ที่ 3a1b1 – a2b1 = 0.350*> 0.1028 คู่ที่ 4 a1b1 - a3b1 =0.295*>0.1028 คู่ที่ 5 a1b1 – a1b2 = 0.260*> 0.1028 คู่ที่ 6 a1b2 - a3b2 = 0.255* > 0.1028

  36. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 3. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของ treatment combination ทุกคู่ คู่ที่ 7 a1b2 – a2b2 = 0.075ns< 0.1028 คู่ที่ 8 a1b2 – a2b1 = 0.045ns < 0.1028 คู่ที่ 9a1b2 - a3b1 = 0.035ns < 0.1028 คู่ที่ 10 a3b1 - a3b2 =0.220*>0.1028 คู่ที่ 11 a3b1 – a2b2 = 0.040ns < 0.1028 คู่ที่ 12 a3b1 – a2b1 = 0.010ns< 0.1028

  37. สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 3. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของ treatment combination ทุกคู่ คู่ที่ 13 a2b1 - a3b2 = 0.210* > 0.1028 คู่ที่ 14 a2b1 – a2b2 = 0.030ns < 0.1028 คู่ที่ 15a2b2 - a3b2 = 0.180* < 0.1028 4. สรุปผล a1b1 a1b2 a3b1 a2b1 a2b2a3b2 2.04 1.78 1.75 1.74 1.71 1.53

More Related