1 / 6

การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารฮาลาล)  อุตสาหกรรม ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมยาง  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้.

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม (อาหารฮาลาล)  อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้  อุตสาหกรรมยาง  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดยะลา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 227 แห่ง (สปช. 213 แห่ง และ สศ. 14 แห่ง) สังกัด เอกชน 45 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. 3 แห่ง สังกัด สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น 11 แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1.วท.ยะลา 2. วอศ.ยะลา 3. วช.ยะลา 4.วก.เบตง 5. วก.รามัน • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกและทิศใต้ เขตติดต่อรัฐเปรัค • ทิศตะวันตกเขตติดต่อรัฐเคดาห์ • เนื้อที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ • เป็นที่ตั้งของด่านปาดังเบซาร์ อ.สะเดา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 58,915 บาท ต่อปี (อันดับ 12 • ของภาค อันดับ 38 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • สวนยางพาราสวนผลไม้ 38.6 % รองลงมาสาขา • การขายส่งและการขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 13.10 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ไก่เบตง กบภูเขา กล้วยหิน ส้มโชกุน • ลองกอง กริช และอาหารจีน • ประชากร • จำนวนประชากร 464,121 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวนสูงที่สุด จำนวน 43,850 คน หรือ 15.76 % • จำนวนผู้ว่างงาน 2,851 คน เป็นชาย 1,999 คน เป็นหญิง 852คน อัตราการว่างงาน 0.6% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน158,424 คนหรือ 63.58% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานร้านค้า และตลาด 27,750 คน หรือ 11.14 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1)ดอกไม้ประดิษฐ์ 2) ทำขนมไทย 3) ตัดเย็บเสื้อผ้าทั่วไป • 4) การขับรถยนต์ 5) ซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ 6) ทำอาหาร • 7) เดินสายไฟภายในอาคาร 8) ซ่อมรถยานยนต์ 9) ตัดเย็บผ้าคลุมสตรี • 10) ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก (ที่มา อศจ.ยะลา) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 89,585 คนหรือ 35.95% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 65,405 คน หรือ 26.25% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 27,573 คน หรือ 11.07% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 173,341 คน หรือ 69.57% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,190 คน หรือ 2.08% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 77 แห่ง มีการจ้างงาน 3,276 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และผลิตภัณฑ์ มีสถานประกอบการ 46 แห่ง มีการจ้างงาน 1,700 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  3. จังหวัดปัตตานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 340 แห่ง (สปช. 322 แห่ง และ สศ. 18 แห่ง) สังกัด เอกชน 165 แห่ง สังกัด กศน. 13 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1.วท.ปัตตานี 2. วท.กภ.ปัตตานี 3. วอศ.ปัตตานี 4.วก.ปัตตานี 5. วก.สายบุรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดกับอ่าวไทย • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมฮาลาล • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 62,860 บาท ต่อปี (อันดับ 11 • ของภาค อันดับ 35 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากเกษตรกรรมและ • การทำประมง 46.08 % รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 14.42 % • อาชีพหลักของจังหวัด • การเพาะปลูก ประมงทะเล เพาะเลี้ยงชายฝั่ง • และการเลี้ยงสัตว์ • อาชีพเกษตรกรรมส่วนใหญ่ปลูก ข้าว ยางพารา • มะพร้าว สวนผลไม้ • ประชากร • จำนวนประชากร 634,376 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 มีจำนวนสูงที่สุดจำนวน 59,064 คนหรือ 15.78% • จำนวนผู้ว่างงาน 5,208 คน เป็นชาย 3,311 คน เป็นหญิง1,897 คน อัตราการว่างงาน 0.9% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน118,990 คนหรือ 39.97% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 53,093 คน หรือ 15.2% และปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 43,103 คน หรือ 14.48% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นอาหารฮาลาล • 2) อาหารไทยฮาลาลยอดนิยมเพื่อการประกอบอาชีพต่างประเทศ 3) ช่างตัดผมและซอยผม • 4) ซ่อมเครื่องยนต์เล็ก 5) การทำอาหารพื้นเมืองมุสลิมภาคใต้ 6) ซ่อมรถจักรยานยนต์ • 7) ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 8) การเลี้ยงปลาในกระชัง • 9) ช่างประกอบอลูมิเนียม 10) ช่างซ่อมเครื่องปรับอากาศในรถยนต์ • (ที่มา อศจ.ปัตตานี) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 104,398 คน หรือ 35.07% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 102,252 คน หรือ 34.35 % และช่วยธุรกิจครัวเรือน • 46,568คน หรือ 15.68 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 44,210 คน หรือ 14.8% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 200,843 คน หรือ 67.5 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 5,717 คน หรือ 1.45% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 52 แห่ง มีการจ้างงาน 4,666 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  4. จังหวัดนราธิวาส สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 362 แห่ง (สปช. 342 แห่ง และ สศ. 20 แห่ง) สังกัด เอกชน 81 แห่ง สังกัด กศน. 13 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 2 แห่ง 1.วช.นราธิวาส 2. วก.สุไหงโก-ลก • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออกติดต่อกับอ่าวไทยและประเทศมาเลเซีย • ทิศใต้ติดต่อกับรัฐกลันตันประเทศมาเลเซีย • เป็นที่ตั้งของด่านชายแดน 2 ด่าน คือ เบตง • และสุไหงโก-ลก • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 38,762 บาท ต่อปี (อันดับ 14 • ของภาค อันดับ 51 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับ จากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 49.98% รองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 14.29% • อาชีพหลักของจังหวัด • การทำสวนยาง สวนผลไม้ ทำนา สวนมะพร้าว • ประมง และการเลี้ยงสัตว์ • ประชากร • จำนวนประชากร 700,525 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวนสูงที่สุด 66,136 คน หรือ 15.43% • จำนวนผู้ว่างงาน 14,156 คน เป็นชาย 9,135 คน เป็นหญิง 5,021 คน อัตราการว่างงาน 1.76 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน149,923 คนหรือ 38.89% ลำดับรองลงมาคือ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 72,988 คน หรือ 18.93% และ พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 62,922 คน หรือ 16.32% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ปักผ้าคลุมผมสตรี 2) ปักลายผ้าละหมาด 3) ช่างเชื่อมโลหะทั่วไป • 4) การผลิตผ้าบาติกและผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก 5) ช่างบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็กเพื่อการประมง • 6) ผลิตภัณฑ์จากทะเล (ข้าวเกรียบ) 7) ดอกไม้ประดิษฐ์จากยางพารา • 8) การจัดทำของชำร่วย จากใบยางและอื่น ๆ 9) การถนอมอาหาร • 10) การผลิตภัณฑ์ไม้ยางพาราและความปลอดภัยในโรงงานการผลิต (ที่มา อศจ.นราธิวาส) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 190,765 คน หรือ 49.48% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 95,046 คน หรือ 24.65% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 59,666 คน หรือ 18.41% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 252,616 คน หรือ 65.52% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 4,635 คน หรือ 1.2% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมยาง มีสถานประกอบการ 38 แห่ง มีการจ้างงาน 1,015 คนลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้มีสถานประกอบการ 38 แห่ง มีการจ้างงาน 774 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  5. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบนกลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนบน

  6. กลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนล่างกลุ่มจังหวัดภาคใต้ตอนล่าง

More Related