1 / 100

การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน

การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน. การจัดการด้านการเงิน. เป็นงานที่สำคัญส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อนำเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้ใช้ ช่วยการวางแผนธุรกิจในอนาคต ให้ข้อมูลทางด้านการเงินเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานรวมทั้งการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน. เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืน คือ อะไร ?.

Download Presentation

การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงินการจัดการที่ยั่งยืนด้านการเงิน

  2. การจัดการด้านการเงิน เป็นงานที่สำคัญส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อนำเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ผู้ใช้ ช่วยการวางแผนธุรกิจในอนาคต ให้ข้อมูลทางด้านการเงินเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานรวมทั้งการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผน

  3. เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืนคืออะไร?เป้าหมายของการจัดการที่ยั่งยืนคืออะไร? 2. เจ้าของ 3. เจ้าหนี้ 1. กำไร 5. พนักงาน 6. สังคม 4. ลูกค้า

  4. สูญเสีย : ทรัพยากรสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ : เกิดหนี้สินโดยไม่จำเป็น ลักษณะของธุรกิจที่ดี • สภาพคล่องดี • ลูกค้าพอใจ • ฐานะการเงินมั่นคง • ผลการดำเนินงานมีกำไรสูง การทำให้มั่นคงและกำไรสูง • รายได้เพิ่มตามเป้าหมาย • สูญเสียน้อย

  5. การบัญชี(Accounting) • หมายถึง กระบวนการของการวัดมูลค่า การบันทึกรายการ จัดหมวดหมู่ การสรุปผลข้อมูลทางการเงิน ตลอดจนการวิเคราะห์และตีความหมายและ การนำเสนอข้อมูลเหล่านั้นอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปในการวางแผนแสะตัดสินใจ • “ภาษาของธุรกิจ “LANGUAGEOF BUSINESS

  6. เริ่มวงจรบัญชี วันต้นงวด ต้นงวดบัญชี เอกสารหลักฐาน วิเคราะห์รายการค้า วงจร บัญชี บันทึกเบื้องต้นที่สมุดรายวัน ระหว่างงวด ผ่านไปบัญชีแยกประเภท ทำงบทดลอง บันทึกรายการปรับปรุง บันทึกรายการปิดบัญชี วันสิ้นงวด หายอดดุลของบัญชีที่ไม่ได้ปิด ทำงบการเงิน ทำซ้ำงวดต่อไป

  7. รายงาน :งบการเงิน กิจการทำผลงานดีอย่างไร ระหว่างงวดบัญชีหนึ่ง ฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง งบกำไรขาดทุน งบกระแส เงินสด งบดุล

  8. องค์ประกอบของข้อมูลการเงินองค์ประกอบของข้อมูลการเงิน 1.สินทรัพย์ ASSETS 2.หนี้สิน  LIABILITIES 3.ส่วนทุน/ CAPITAL หรือ เจ้าของ OWNERS’ EQUITY 4.รายได้  REVENUES กำไร GAIN 5.ค่าใช้จ่าย  EXPENSES ขาดทุน LOSS

  9. วิเคราะห์รายการค้า

  10. บัญชีแยกประเภทของแต่ละกิจการคือบัญชีต่างๆใน 5 ประเภท บัญชีแยกประเภท THE LEDGER หนี้สิน Liabilities สินทรัพย์Assets ส่วนทุนเจ้าชอง Stockholders’ Equity อุปกรณ์Equipment ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่าใช้จ่าย เงินเดือน ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า ที่ดินLand รายได้ ค่าบริการ ค่าขาย Salaries Payable ทุนหุ้น Common Stock วัสดุ Supplies เจ้าหนี้Accounts Payable เงินสด Cash กำไรสะสมRetained Earnings เงินกู้ยืมloans Payable

  11. Types of Accounting Information Financial Tax Managerial

  12. งบการเงิน • ผลผลิตหนึ่งของกระบวนการหรือวงจรทางการบัญชีจัดทำในรูป งบการเงิน (Financial Statements) หรือรายงานการเงิน (Financial Reports)

  13. รายงานหรืองบการเงิน ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ • ผลการดำเนินงานงบกำไรขาดทุน • ฐานะทางการเงินงบดุล • การเปลี่ยนแปลงงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของ ฐานะการเงินส่วนของเจ้าของ • สภาพคล่องงบกระแสเงินสด

  14. สมการบัญชี Assets = Liabilities + Owners’ Equity Resources Creditor’s claims against resources Owners’ claims against resources สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนทุนเจ้าของ ส่วนทุน = สินทรัพย์ -หนี้สิน

  15. สมการทางบัญชี: สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ที่กิจการมีย่อมเท่ากับผู้ที่ลงทุนในสินทรัพย์หรือผู้มีสิทธิในสินทรัพย์คือเจ้าหนี้และเจ้าของ

  16. สมการบัญชี แหล่งใช้ไปของเงินทุน = แหล่งที่มาของเงินทุน สินทรัพย์ = ทุนของเจ้าของ สินทรัพย์ = เจ้าหนี้(หนี้สิน) สินทรัพย์ = เจ้าหนี้(หนี้สิน) + ทุนของเจ้าของ และเมื่อดำเนินงานไปในช่วงเวลาหนึ่ง(เดือน, ปี ) รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร (ขาดทุน) กำไร(ขาดทุน) ส่งผลให้ เจ้าของเปลี่ยนแปลง สินทรัพย์ = หนี้สิน +{ทุนเจ้าของ + กำไร (ขาดทุน)}

  17. ความสัมพันธ์ระหว่างงบกำไรขาดทุนกับงบดุลความสัมพันธ์ระหว่างงบกำไรขาดทุนกับงบดุล งบดุลงบกำไรขาดทุน สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนทุน + รายได้ - ค่าใช้จ่าย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1 ตค. 30 กย. 1 สค. 31 สค. 1 มค. 31 ธค. งวดบัญชี

  18. การหมุนเวียนของกระแสเงินสดของกิจการการหมุนเวียนของกระแสเงินสดของกิจการ กระแสเงินสดจากการลงทุน กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน กระแสเงินสดรับ ขายเชื่อ ขายสินทรัพย์หรือเงินลงทุน ซื้อสินทรัพย์หรือเงินลงทุน ลูกหนี้การค้า ขายเงินสด ผลตอบแทนเงินลงทุน สินค้าสำเร็จรูป เงินสด กู้ยืมเงิน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร กระบวนการผลิต ดอกเบี้ยจ่าย จ่ายคืนเงินกู้ ซื้อเงินเชื่อ เจ้าหนี้การค้า วัตถุดิบ เงินเพิ่มทุน ค่าแรงและค่าใช้จ่ายในการผลิต เงินปันผล ภาษีเงินได้ กระแสเงินสดจ่าย กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน

  19. การตัดสินใจทางบริหาร การลงทุน การดำเนินงาน การจัดหาเงินทุน ส่วนทุนของเจ้าของ สินทรัพย์หมุนเวียน รายได้จากการดำเนินงาน เจ้าหนี้ระยะสั้น สินทรัพย์ถาวร กำไร(ขาดทุน) ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน เจ้าหนี้ระยะยาว ตัดบัญชี สินทรัพย์อื่นๆ

  20. เมื่อเริ่มต้นทำธุรกิจ จะต้องพิจารณาว่าควรลงทุนเท่าใดดี • ต้องเป็นการลงทุนที่ • จำเป็น • เหมาะสม • คุ้มค่าและ • ประหยัด

  21. ตอนเริ่มกิจการควร จัดหา สินทรัพย์(Assets) ที่จำเป็น ได้แก่ • เงินสด • สินค้า • ที่ดิน • อาคาร • เครื่องมือหรืออุปกรณ์ • ยานพาหนะ • ฯลฯ

  22. สินทรัพย์ (Assets) สินทรัพย์ คือ ทรัพยากร • อยู่ภายใต้การควบคุมของกิจการ • อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต • กิจการคาดว่าจะได้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต

  23. สินทรัพย์ (Assets) เงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ทรัพยากรที่กิจการเป็นเจ้าของหรือควบคุมได้ ยานพาหนะ ที่ดิน อาคาร วัสดุสำนักงาน เครื่องจักร อุปกรณ์

  24. สินทรัพย์แบ่งเป็น 2 ประเภท: • อายุน้อยกว่า 1 ปี เรียกว่า สินทรัพย์หมุนเวียน 2. อายุมากกว่า 1 ปี เรียกว่าสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หรือสินทรัพย์ถาวร

  25. สินทรัพย์ถาวร . Land ทีดิน

  26. สินทรัพย์ถาวร อาคาร สำนักงาน โรงงาน Buildings อุปกรณ์ เครื่องจักร Equipment

  27. หนี้สิน (Liabilities) หนี้สิน คือ ภาระผูกพัน • ที่มีอยู่ในปัจจุบัน • อันเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีต • คาดว่าการจ่ายชำระภาระผูกพันนั้นจะทำให้องค์กรเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ

  28. หนี้สิน (Liabilities) เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืม-สถาบันการเงิน/ บุคคล สิทธิของเจ้าหนี้ ที่มีต่อสินทรัพย์ ค่าแรงค้างจ่าย เจ้าหนี้ภาษี

  29. ส่วนของเจ้าของ (OWNERS’ EQUITY) คือ ส่วนได้เสียคงเหลือภายหลังหักหนี้สินออก จากสินทรัพย์แล้ว (สินทรัพย์ - หนี้สิน = ส่วนทุนหรือสินทรัพย์สุทธิ)

  30. ส่วนทุน (Equity)- บริษัท ทุนที่นำมาลง:หุ้นสามัญ กำไรสะสม สิทธิของเจ้าของ ที่มีต่อสินทรัพย์ เงินปันผลจ่าย

  31. ส่วนทุน (Equity)- เจ้าของคนเดียว ทุนที่นำมาลง กำไร(ขาด ทุน)สุทธิ สิทธิของเจ้าของ ที่มีต่อสินทรัพย์ เบิกใช้

  32. สัดส่วนหนี้สินต่อส่วนทุนของเจ้าของควรเป็น 40:60 หรือ 50:50 หรือ 60:40

  33. กิจกรรม ทางธุรกิจ รายการ ทางบัญชี งบการเงินหรือ รายงานการเงิน รายการทางบัญชี แบ่งเป็น 5 หมวด • หมวดรายได้ • หมวดค่าใช้จ่าย • หมวดสินทรัพย์ • หมวดหนี้สิน • หมวดทุน บันทึกในหลักบัญชีคู่ (Double Entry System)เดบิต , เครดิต

  34. รายงาน :งบการเงิน กิจการทำผลงานดีอย่างไร ระหว่างงวดบัญชีหนึ่ง ฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง งบกำไรขาดทุน งบกระแส เงินสด งบดุล

  35. รายงานทางการเงินที่สำคัญรายงานทางการเงินที่สำคัญ งบกำไรขาดทุน (Income Statement) เป็นงบที่แสดงผลการดำเนินงานว่าทำธุรกิจภายในรอบเวลาหนึ่ง เช่น 1 เดือนหรือ 1 ปี เป็นต้น

  36. งบกำไรขาดทุน • กำไร (ขาดทุน) เป็นส่วนหนึ่งของทุน • รายได้และค่าใช้จ่ายบันทึกโดยใช้เกณฑ์คงค้าง(Accrual Basis) กำไร = รายได้ - ค่าใช้จ่าย

  37. ขายสินค้า ขายบริการ ค่าเช่า ค่าดอกเบี้ย เงินปันผล ต้นทุนสินค้าขาย ต้นทุนการบริการ ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ผลการดำเนินงานของธุรกิจทั่วไป กำไร(ขาดทุน) = รายได้ - ค่าใช้จ่าย

  38. กิจการให้บริการ กิจการขายสินค้า รายได้บริการ ขายสุทธิ หัก หัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน ต้นทุนสินค้าขาย เท่ากับ เท่ากับ กำไรสุทธิ กำไรขั้นต้น หัก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน เท่ากับ กำไรสุทธิ

  39. งบกำไรขาดทุนแสดงให้เห็นอะไรงบกำไรขาดทุนแสดงให้เห็นอะไร • กำไรขาดทุนสำหรับ “งวดบัญชี” หนึ่ง • ความสามารถในการทำกำไรของบริษัท • รายได้ขนาดไหน • ค่าใช้จ่ายขนาดไหน • ใช้เงินไปกับอะไร ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ดอกเบี้ยจ่าย

  40. งบกำไรขาดทุน (หน่วย : บาท) ค่าขาย8,000 หัก ต้นทุนขาย 5,000 กำไรขั้นต้น3,000 หัก ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหาร 2,000 กำไรสุทธิ 1,000

  41. บริษัทไตรอุโฆษ จำกัดงบกำไรขาดทุนสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25X_

  42. รายได้REVENUEหมายถึง • การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรูปกระแสเข้า หรือ • การเพิ่มค่าของสินทรัพย์หรือการลดลงของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น • ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับจากผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ

  43. รายได้ตามคำนิยาม รวมถึง -รายได้ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมตามปกติของ กิจการ - กำไร • กำไรจากการขายสินทรัพย์ระยะยาว

  44. ค่าใช้จ่ายEXPENSESหมายถึง • การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสออก หรือ • การลดค่าของสินทรัพย์ หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง • ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนของเจ้าของให้กับผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ

  45. ค่าใช้จ่ายตามคำนิยาม รวมถึง - รายการขาดทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมตามปกติของกิจการ (ในรูปกระแสออกหรือการเสื่อมค่าของสินทรัพย์) • รายการขาดทุน • รายการขาดทุนที่เกิดจากภัยธรรมชาติ • รายการขาดทุนที่เกิดจากการขายสินทรัพย์ระยะยาว

  46. ค่าใช้จ่ายมี 2 ประเภทคือ 1. ต้นทุนสินค้าขาย (Cost of Goods Sold) 2. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน (Operating Expenses): ค่าใช้จ่ายในการขาย(Selling Expenses) ค่าใช้จ่ายการบริหาร(Administrative Exp.)

  47. การรับรู้- รายได้และค่าใช้จ่าย รายได้ (เพิ่ม) หัก ค่าใช้จ่าย (เพิ่ม) กำไร(ขาดทุน)สุทธิ เรียกว่า เกณฑ์คงค้าง (พึงรับพึงจ่าย)หรือ Accrual Basis หลักการจับคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้ Matching concept

  48. เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis)เกณฑ์ในการวัดผลการดำเนินงานสำหรับแต่ละงวดบัญชี ซึ่งจะพิจารณาถึงรายได้และค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในงวดนั้น โดยไม่คำนึงถึงว่า รายการดังกล่าวมีการรับหรือจ่ายเงินสดหรือไม่รายได้= ผลจากการขายสินค้าหรือบริการที่ได้ให้ลูกค้าเสร็จเรียบร้อยไปในงวดนั้นค่าใช้จ่าย =สินค้าหรือบริการที่ได้ใช้ประโยชน์หมดสิ้นไปเพื่อก่อให้เกิดรายรายได้ในงวดนั้น (เกณฑ์การจับคู่รายได้กับค่าใช้จ่าย)

More Related