1 / 27

Balance Scorecard (BSC) มาพัฒนางานวิชาการ

Balance Scorecard (BSC) มาพัฒนางานวิชาการ. แนวคิดเบื้องต  นเกี่ยวกับ Balanced Scorecard.

shanna
Download Presentation

Balance Scorecard (BSC) มาพัฒนางานวิชาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Balance Scorecard (BSC)มาพัฒนางานวิชาการ

  2. แนวคิดเบื้องตนเกี่ยวกับ Balanced Scorecard เป็นกลยุทธ์ในการบริหารงานสมัยใหม่ และได้รับความนิยมไปทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย Balanced Scorecard ได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปี 1990 โดย Drs. Robert Kaplan จากHarvard Business School และ David Norton จากBalanced Scorecard Collaborativeโดยตั้งชื่อระบบนี้ว่า “Balanced Scorecard”การนำ balanced scorecard มาใช้ จะทำให้ผู้บริหารมองเห็นภาพขององค์กรชัดเจนยิ่งขึ้นผู้บริหารขององค์กรจะได้รับรู้ถึงจุดอ่อน และความไม่ชัดเจนของการบริหารงานที่ผ่านมา balanced scorecard จะช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ในการจัดการองค์กรได้ชัดเจน โดยดูจากผลของการวัดค่าได้จากทุกมุมมอง เพื่อให้เกิดดุลยภาพในทุก ๆ ด้าน มากกว่าที่จะใช้มุมมองด้านงบประมาณเพียงด้านเดียว

  3. ความหมาย Balance Scorecard Balanced Scorecard คือ ระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการวัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็น การกำหนดวิสัยทัศน์ (vision)และแผนกลยุทธ์ (strategic plan)แล้วแปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละฝ่ายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทำงานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กร

  4. ความหมาย Balance Scorecard (ต่อ) นำมาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองค์กรได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Balanced Scorecard เต็มระบบแล้ว Balanced Scorecard จะช่วยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ขององค์กรจากระบบ “การทำงานตามคำสั่งหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้สืบทอดกันมา (academic exercise)” ไปสู่ระบบ “การร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวขององค์กร (nerve center of an enterprise)

  5. Kaplan และ Norton ได้อธิบายถึงระบบ Balanced Scorecard จะยังคงคำนึงถึงมุมมองของการวัดผลทางการเงิน (financial measures) อยู่เหมือนเดิม แต่ผลลัพธ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นจะบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับองค์กรในช่วงที่ผ่านมา บอกถึงเรื่องราวของความสามารถกับอายุของบริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมนี้ แต่มันไม่ได้บอกถึงความสำเร็จขององค์กร ที่จะมีต่อผู้ลงทุนที่จะมาลงทุนระยะยาวโดยการซื้อหุ้นของบริษัท และความสัมพันธ์ของลูกค้า (Customer relationships) แต่อย่างใด

  6. Kaplan และ Norton ได้อธิบายถึงระบบ (ต่อ) จะเห็นได้ว่าเพียงการวัดผลทางการเงินด้านเดียวไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามมันก็ใช้เป็นแนวทางและการตีค่าของผลการประกอบการขององค์กร ใช้เป็นข้อมูลที่จะเพิ่มมูลค่าขององค์กรในอนาคตและสร้างแนวทางสำหรับ • ลูกค้า (customers) • ผู้ขายวัตถุดิบหรือสินค้า (suppliers) • ลูกจ้าง (employees) • การปฏิบัติงาน (processes) • เทคโนโลยี (technology) • การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ

  7. ขอจํากัดของตัวชี้วัดทางด้านการเงินขอจํากัดของตัวชี้วัดทางด้านการเงิน • ในการพัฒนางานวิชาการในยุคปจจุบันมุงเนนที่ปจจัยจับตองไมไดมากขึ้น (Intangible the Asset knowledge) เช่น ชื่อเสียงภาพพจน์ของหน่วยงาน (Image) ความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง ความพึงพอใจของบุคลากร หรือแมกระทั่งความสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม • ตัวชี้วัดทางดานการเงินบอกใหทราบถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตหรือสิ่งที่เกิดขึ้นมาแลว (Lagging Indicators) แตไมไดบอกใหรูถึงปญหาและโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับหน่วยในอนาคต ทั้งนี้เนื่องจากขอมูลที่ใชในตัวชี้วัดทางดานงบประมาณเป็นตัวเลขหรือขอมูลที่ไดมาตอเมื่อเหตุการณหรือระยะเวลาไดสิ้นสุดลงแลว

  8. ทําไมจึงเรียกวา “Balanced Scorecard” • 1. Balanced คือ ความสมดุลของสิ่งตอไปนี้ • ก. ความสมดุลทั้งในดานการเงินและดานอื่น ไดแก ดานลูกคา การดําเนินงานภายใน และการเรียนรูและพัฒนา ซึ่งก็คือ มุมมอง (Perspectives) ทั้ง ๔ มุมมองของ BSC นั่นเอง • ข. ความสมดุลระหวางมุมมองในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งมุมมองระยะสั้นคือการใหความสําคัญดานการเงินเปนหลัก จนละเลยตอการพัฒนาองคกรในระยะยาว เชน ในเรื่องของบุคลากรหรือดานเทคโนโลยี แต BSC เปนเครื่องมือที่ผูบริหารมุงใหความสําคัญทั้งมุมมองระยะสั้น(ดานการเงิน) และมุมมองในระยะยาวที่แสดงถึงการเรียนรูและพัฒนาองคกร

  9. ทําไมจึงเรียกวา “Balanced Scorecard” (ต่อ) • ค. ความสมดุลระหวางมุมมองภายในและภายนอกองคกร เพราะ BSCเสนอมุมมองด้านลูกคา (Customer perspective) จะเปนการมององคกรจากมุมมองของตัวลูกค้าทําใหองคกรทราบวา อะไร คือ สิ่งที่ลูกคาคาดหวังหรือตองการ • ง. ความสมดุลระหวางการเพิ่มรายไดและการควบคุมตนทุน • จ. ความสมดุลระหวางตัวชี้วัดที่เปนเหตุ (Leading indicators) และตัวชี้วัดที่เปนผล (Lagging Indicators) • 2. Scorecard คือ บัตรคะแนน หมายความว่ามีระบบข้อมูลหรือสิ่งสนับสนุนใหเห็นวา ตัวชี้วัดในแตละดานนั้นไดทําจริง ไมใชมีเฉพาะตัวเลข

  10. ขั้นตอนในการจัดทำ Balanced Scorecard (ต่อ) • 1.การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) ขององค์กร เพื่อให้ทราบถึงสถานะ พื้นฐานขององค์กร • 2. การพัฒนาวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์กร ผู้บริหารจะมีวิสัยทัศน์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้บริหาร • 3. การกำหนดมุมมอง (Perspective) ด้านต่าง ๆ ที่จะเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินกิจการมุมมองของแต่ละกิจการ จะแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นฐานของการดำเนินกิจการ

  11. ขั้นตอนในการจัดทำ Balanced Scorecard (ต่อ) • 4. การกำหนดกลยุทธ์ (Strategy) และ วัตถุประสงค์ (Objective) ในมุมมองด้านต่าง ๆ โดยเรียงลำดับความสำคัญ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร โดยมุมมองต่าง ๆ จะประกอบด้วยมุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective) มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) และมุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Growth Perspective) • 5. การจัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ด้านต่าง ๆ ในลักษณะของเหตุและผล (Cause and Effect Relationship) เพื่อสร้างเป็นแผนที่ทางกลยุทธ์ (Strategy Map)

  12. ขั้นตอนในการจัดทำ Balanced Scorecard (ต่อ) • 6. การกำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPIs) และเป้าหมาย (Target) สำหรับแต่ละมุมมองพร้อมทั้งเรียงลำดับความสำคัญ • 7. การจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan

  13. Balanced Scorecard ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลองคกรไมสามารถใชแตตัวชี้วัดทางดานการเงินไดเพียงอยางเดียวผูบริหารต้องพิจารณามุมมองอื่น ๆ ประกอบดวย ซึ่งประเด็นนี้คือ จุดเริ่มตนหรือที่มาของBSC ที่ Kaplan กับ Norton พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการประเมินผลองคกร โดยตองพิจารณาใหครอบคลุมถึงมุมมองทั้ง ๔ ดาน คือ มุมมองดานการเงินมุมมองดานลูกคา,มุมมองดานกระบวนการภายใน, มุมมองดานการเรียนรูและการพัฒนาโดยภายใตแตละมุมมองประกอบดวย • วัตถุประสงค (Objective) • ตัวชี้วัด (Measures หรือ Performance Indicators) • เปาหมาย (Target) • ความคิดริเริ่ม หรือสิ่งที่จะทํา (Initiatives)

  14. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้านหลัก ขอยืนยันตามแนวคิดของNorton และ Kaplan ว่า ความสมดุล (Balance) ในการพัฒนางานวิชาการนั้น สามารถวัด และประเมินได้จากการมองผ่านมุมมองของระบบการวัดและประเมินผลใน 4 ด้านหลัก คือ • มุมมองด้านงบประมาณ (Financial Perspective; F) • มุมมองด้านผู้เรียน (Student Perspective; S) • มุมมองด้านการดำเนินการภายใน (Internal Perspective; I) • มุมมองด้านการพัฒนาบุคลากร (Personal Development; P)

  15. ความเชื่อมโยงของมุมมองนี้เป็นเสมือนเครื่องเตือนใจให้ระลึกอยู่เสมอว่า แต่ละมุมมองนั้นมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน

  16. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้านหลัก (ต่อ) 1.มุมมองด้านงบประมาณ (Financial Perspective ; F) ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 2 ด้าน คือ • ด้านการเพิ่มขึ้นของรายได้ (Revenue Growth) -เงินงบประมาณ -เงินบำรุงการศึกษา -เงินนอกงบประมาณ -เงินอุดหนุน • ด้านการลดลงของต้นทุน (Goat Reduction) -วางแผนการใช้เงินทั้งระยะสั้นและระยะปานกลาง -บริการทรัพย์สินของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ -ควบคุมเอกสารการเงิน บัญชี พัสดุให้รัดกุม

  17. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้านหลัก (ต่อ) 2. มุมมองด้านผู้เรียน (Student Perspective; S)มีวัตถุประสงค์ 5 ประการ 1.ส่วนแบ่งทางการตลาด (Market Share)ตัวชี้วัดคือ การเพิ่ม-ลด จำนวนนักเรียน เทียบกับโรงเรียนในข้างเคียง • การรักษาฐานนักเรียน (Student Retention)เป็นการรักษาจำนวนนักเรียนเดิมไว้ รวมทั้งควบคุมการย้ายออก • การเพิ่มขึ้นของนักเรียนใหม่ (Student Acquisition)เป็นการวัดความสามารถในการแสวงหานักเรียนใหม่ ตัวชี้วัด คือ จำนวนนักเรียนเข้าใหม่ที่เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา

  18. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้านหลัก (ต่อ) • ความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง (Student Satisfaction)วัดความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อการบริหารจัดการโรงเรียน ตัวชี้วัดคือ ผลการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครอง • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตัวชี้วัดคือ ร้อยละของนักเรียนที่เข้าศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น

  19. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้าน 3. มุมมองด้านการดำเนินการภายใน (Internal Perspective; I)เป็นระบบที่มีความสำคัญต่อด้านการเงินและด้านนักเรียน เพื่อให้การบริหารงานวิชาการบรรลุเป้าหมายต้องจัดให้มีกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนดังนี้ • กิจกรรมหลัก ได้แก่ จัดทำหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร การวิจัยในชั้นเรียน การสอนซ่อมเสริม การนิเทศภายใน-นอก การประกันคุณภาพการศึกษา • กิจกรรมสนับสนุน ได้แก่ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น การส่งเสริมประชาธิปไตย โครงการอาหารกลางวัน กิจกรรมสหกรณ์ การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

  20. มุมมองของการวัดและประเมินผลการพัฒนางานวิชาการใน 4 ด้าน 4. มุมมองด้านการพัฒนาบุคลากร (Personal Development; P)เป็นมุมมองที่สำคัญมากเพราะเป็นมุมมองในการพัฒนาในอนาคต วัตถุประสงค์ของมุมมองด้านนี้ประกอบด้วยด้านทรัพยากรมนุษย์ในโรงเรียน ได้แก่ วัตถุประสงค์ในด้าน -การพัฒนาทักษะ ความสามารถของบุคลากรที่เพียงพอ -ด้านทัศนคติและความพึงพอใจของบุคลากร -อัตราการศึกษาต่อ และการส่งเสริมการประเมินเพื่อเพิ่มวิทยฐานะ -การทัศนศึกษาดูงาน

  21. Balanced Scorecard ในฐานะเครื่องมือที่ชวยในการนํากลยุทธ์ไปสูการปฏิบัติ BSC นอกจากจะเปนเครื่องมือในการประเมินผลแลว ยังเปนเครื่องมือในการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ ซึ่งในปจจุบันพบวา จุดออนที่สําคัญของผูบริหารสวนใหญไมไดอยูที่การวางแผนหรือ การจัดทํากลยุทธ แตอยูที่ความสามารถในการนํากลยุทธที่ไดกําหนดขึ้นไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่องคกรจะประสบผลสําเร็จนั้นจะตองประกอบดวยทั้งกลยุทธที่ดีและความสามารถในการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติถาองคกรมีกลยุทธที่ดีเพียงอยางเดียวยอมไมสามารถดําเนินงานไดตามกลยุทธที่ตั้งไวในขณะเดียวกันถามีความสามารถในการปฏิบัติ แตขาดกลยุทธที่ดียอมทําใหองคกรขาดทิศทางที่ชัดเจนและยิ่งถาองคกรขาดทั้งกลยุทธที่ดีและความสามารถในการปฏิบัติที่ดีองคกรนั้นยอมจะประสบความลมเหลวตั้งแตตน

  22. อุปสรรคสําคัญที่ทําใหกลยุทธไมสามารถนําไปสูการปฏิบัติอุปสรรคสําคัญที่ทําใหกลยุทธไมสามารถนําไปสูการปฏิบัติ 1.วิสัยทัศนและกลยุทธที่กําหนดขึ้นขาดการสื่อสารและการถายทอดไปยังผูบริหารระดับต่าง ๆ และพนักงาน ซึ่งถาบุคคลภายในองคกรไมสามารถเขาใจต่อวิสัยทัศนและกลยุทธขององค์กรย่อมยากที่จะทําใหบุคคลเหลานั้นปฏิบัติตามวิสัยทัศนและกลยุทธได 2.การที่ผูบริหารระดับตาง ๆ และพนักงานยังขาดแรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามกลยุทธ 3.ผูบริหารระดับสูงขององคกรมักไมคอยใหความสนใจและใหความสําคัญกับกลยุทธ์มากนัก ผูบริหารมักจะมองวากลยุทธเปนเพียงกิจกรรมที่ทําเพียงแคปละครั้งเทานั้น ทําใหกลยุทธไมไดนําไปสูการปฏิบัติอยางแทจริงหลักการ

  23. ประโยชน์ที่องค์กรจะได้รับจากการใช้ Balanced Scorecard • ช่วยให้มองเห็นวิสัยทัศน์ขององค์กรได้ชัดเจน • ได้รับการความเห็นชอบและยอมรับจากผู้บริหารทุกระดับ ทำให้ทุกหน่วยงานปฏิบัติงานได้สอดคล้องกันตามแผน • ใช้เป็นกรอบในการกำหนดแนวทางการทำงานทั่วทั้งองค์กร • ช่วยให้มีการจัดแบ่งงบประมาณและทรัพยากรต่าง ๆ สำหรับแต่ละกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม • เป็นการรวมแผนกลยุทธ์ของทุกหน่วยงานเข้ามาไว้ด้วยกัน ด้วยแผนธุรกิจขององค์กร ทำให้แผนกลยุทธ์ทั้งหมดมีความสอดคล้องกัน • สามารถวัดผลได้ทั้งลักษณะเป็นทีมและตัวบุคคล

  24. แนวทางการนํา Balanced Scorecard มาใชใหเกิดผล 1. ผูบริหารระดับสูงถือเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการนํา BSC มาใชใหเกิดผลสําเร็จ ผูบริหารจะตองมีความเขาใจในหลักการของ BSC และมีทัศนคติที่ดีในการนําBSC มาใช อีกทั้งตองใหการสนับสนุนและเปนเจาภาพในการนํา BSC มาใชในองคกรโดยไมควรจะมอบหมายใหผูบริหารระดับรองเปนเจาภาพแทน 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลง การนํา BSC มาใชใหเกิดผลจะตองนําแนวคิดในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงเขามาใชรวมดวย เนื่องจากการนํา BSC มาใชนั้นจะก่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในองคกร ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ควรพิจารณาไดแก มุ่งเน้นการสื่อสารภายในและไมควรทําทีเดียวทั้งองคกร รวมทั้งจะตองมีการสร้างทัศนคติที่ดีใหกับพนักงานดวย

  25. แนวทางการนํา Balanced Scorecard มาใชใหเกิดผล (ต่อ) 3. การนํา BSC มาใชตองเนนที่ความเร็ว เรียบงาย ตอเนื่อง และใชเปนประจําโดยความเร็วคือ ความเร็วในการพัฒนาและนําเอา BSC ไปใช การพัฒนาจึงมุงเนนถึงการพัฒนามากกวาความสมบูรณ เนื่องจาก BSC จะไมมีวันสมบูรณไดจนกวาไดมีการใชความเรียบงายคือ ความเรียบงายในดานหลักการแนวคิดที่ชัดเจนและตรงไปตรงมาความตอเนื่อง คือ การนํา BSC มาใชไมใชโครงการที่จะทําไดไมสําเร็จภายในเวลาไมกี่เดือนหรือป แตการที่จะนํา BSC จนประสบผลสําเร็จนั้น จะตองมีความตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจาก BSC ไมไดสมบูรณ หรือถูกตอง ในครั้งแรกที่ทํา ดังนั้น เมื่อนํา BSC มาใชตองมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนาอยางตอเนื่องตลอดเวลา สวนการใชเปนประจําหมายความว่าตองนํา BSC มาใชผสมผสานกับการบริหารงานประจําวัน ไมวาจะจัดใหมีการประชุมตามBSC หรือทําใหผลการดําเนินงานตาม BSC เปนสิ่งที่ทําใหเห็นไดชัดเจนอยูตลอดเวลา

  26. แนวทางการนํา Balanced Scorecard มาใชใหเกิดผล (ต่อ) 4. การผูกผลของ BSC กับสิ่งที่จูงใจบุคลากร ถือเปนประเด็นที่ยังถกเถียงกันอยูซึ่งการผูกกับสิ่งจูงใจนั้นหมายถึง ถาทําไดตามเปาหมายจะไดรับรางวัล แตถาไมถึงเปาหมายที่ตั้งไวจะไมเกิดอะไรขึ้น ซึ่งในประเด็นนี้ยังจําเปนตองพิจารณาตอไป 5. BSC ถือเปนเครื่องมือทางกลยุทธ ดังนั้นถาจะนํามาใชใหเกิดผลที่สุด ควรจะนํามาใชในดานของกลยุทธเปนหลัก ไมใชเพียงแคการประเมินผลใหครบทั้ง ๔ ดานเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการกําหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) เนื่องจากตัวชี้วัดที่อยูใน BSC นั้นควรจะเป็นตัวชี้วัดเชิงกลยุทธ (Strategic Measures) มากกวาตัวชี้วัดที่เปนตัวชี้วัดในการเตือนภัย (Safety Measures)

  27. เอกสารอ้างอิง ดนัย เทียนพุฒ ดัชนีวัดผลสําเร็จธุรกิจ (KPIs) และการประเมินองคกรแบบสมดุลBSC) กรุงเทพมหานคร : บริษัท ดี เอ็น ที คอนซัลแตนท จํากัด ,๒๕๔๖ พสุ เดชะรินทร Balanced Scorecard รูลึกในการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ,๒๕๔๖ พสุ เดชะรินทร กลยุทธใหมในการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทฮาซันพริ้นติ้งจํากัด ,๒๕๔๖ http://tulip.bu.ac.th/~jarin.a/content/Management/BSC.htm http://www.thailocaladmin.go.th http://www.tpa.or.th/shindan/bsc_kpi.php

More Related