1 / 66

พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ

พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ. โดย นาย คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน. 10 มกราคม 2550 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. GDP ประเทศไทยที่ผ่านมา. ในปี 2549 มีค่า 7.1 ล้านล้านบาท. Million Baht. วิกฤตเศรษฐกิจ. สถานะด้านการเงินของประเทศไทย. ล้านบาท.

shana
Download Presentation

พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติพลังงานในฐานะเป็นปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ โดย นาย คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน 10 มกราคม 2550 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ

  2. GDP ประเทศไทยที่ผ่านมา ในปี 2549 มีค่า 7.1 ล้านล้านบาท Million Baht วิกฤตเศรษฐกิจ

  3. สถานะด้านการเงินของประเทศไทยสถานะด้านการเงินของประเทศไทย ล้านบาท ประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่างมากจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้นเพราะเป็นประเทศที่ต้องนำเข้า

  4. Energy Growth vs. GDPGrowth Energy Elasticity แกนขวา แกนซ้าย

  5. การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน (1 บาร์เรล 159 ลิตร) * เบื้องต้น

  6. มูลค่าการนำเข้าพลังงานมูลค่าการนำเข้าพลังงาน หน่วย: ล้านบาท * เบื้องต้น

  7. สถานการณ์พลังงานประเทศไทยสถานการณ์พลังงานประเทศไทย • การใช้เชิงพาณิชย์ ~ 50% เป็นไฟฟ้า –50% เป็นน้ำมัน • ในปี 2549 ประเทศไทยใช้พลังงานมูลค่า ~ 1.12 ล้านล้านบาท Hydro 3% Coal 13% เชื้อเพลิง เชิงพาณิชย์ Oil 49% Natural Gas 35% 90% ต้องนำเข้า สำหรับการผลิตไฟฟ้า Industry 36% Agriculture 6% Transportation 37% การใช้แยกตามสาขาเศรษฐกิจ Res & Com 21%

  8. 3,650 1,965 41% 32% Primary Energy Consumption Outlook Unit: KBD Crude Oil Equivalent 2% CAGR 4.3% ’05-’20 0.88 GDP 10% 4% CAGR 6% ’00-’05 1.2 GDP New & Renewable Hydro 14% Traditional Renewable Coal/Lignite 38% 16% 2% Natural Gas Imp. 12% Domestic Import 29% Domestic Domestic Oil Imp. Domestic Import

  9. Oil Price Forecast

  10. การใช้น้ำมันสำเร็จรูปในประเทศไทยการใช้น้ำมันสำเร็จรูปในประเทศไทย Diesel Million Liter per Day Gasoline Gasohol

  11. ประเด็นการนำเสนอ • การบริหารจัดการพลังงานหลัก (1) ไฟฟ้า (2) ก๊าซธรรมชาติ (3) น้ำมัน 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน (1) NGV (2) Gasohol (3) Biodiesel 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า 4. การอนุรักษ์พลังงาน (1) ภาคขนส่ง (2) อุตสาหกรรม (3) ราชการ (4) ประชาชน

  12. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก • (1) ไฟฟ้า • ก๊าซธรรมชาติ • น้ำมัน

  13. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า เมกะวัตต์ (38,241 MW) 5.5 5.5 5.5 • ปรับความต้องการไฟฟ้าใหม่เนื่องจากเศรษฐกิจชะลอตัวลง • ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มในอัตราลดลงจากแผนเดิม • 2554 2559 • 1,593 MW 2,285 MW 5.8 5.5 5.8 5.5 GDP 5.5 5.0 (35,956 MW) 5.5 5.0 5.3 5.0 5.0 5.5 5.0 5.5 5.2 5.0 GDP 4.8 ปี

  14. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ประเด็นนโยบายการผลิตไฟฟ้าในอนาคต • ปี 2554-2564 มีโรงไฟฟ้าใหม่  29,000 MW • ซื้อจากต่างประเทศ 20 % • ผลิตจากเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ 40 % • ผลิตจากถ่านหินนำเข้า 40 %

  15. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า รับซื้อไฟฟ้าจากลาว โครงการที่มีศักยภาพอื่นๆ : หงสาลิกไนต์ 1400 MW เทินหินบุนส่วนขยาย 220 MW น้ำเงี๊ยบ 260 MW เซเปียนเซน้ำน้อย 390 MW

  16. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ พม่า ฮัจจี 1,200 MW จีนตอนใต้ (ตาม MOU) 3,000 MW กัมพูชา (ตาม MOU) ไม่ได้กำหนด MW

  17. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ไฟฟ้า ค่า Ft ต.ค. 49 - ม.ค.50 ลด 7.02 สต. • ความต้องการใช้ลดลง • ผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำเพิ่มขึ้น • เพิ่มการใช้ก๊าซจาก แหล่งภูฮ่อมและพม่า • ซื้อไฟฟ้าจาก BLCP (ถ่านหิน) เพิ่ม

  18. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก (2) ก๊าซธรรมชาติ

  19. 17% 21% 21% Growth 6% (2549-2564) 10% 6% 6,900 3,086 5,130 9% 11% 17% 52% 74% 62% 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ ขยายการใช้และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับก๊าซธรรมชาติ • ความต้องการเพิ่มขึ้น • ระยะสั้น (2549-2554) 11% • ระยะยาว (2555-2564) 3% • มุ่งขยายตลาดที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูงสุดให้กับก๊าซธรรมชาติ • อุตสาหกรรม (Cogeneration/ District Cooling) • เชื้อเพลิงทดแทนภาคขนส่ง : NGV • โรงแยกก๊าซฯ/ปิโตรเคมี ล้านลบ.ฟุต/วัน โรงแยกก๊าซฯ NGV อุตสาหกรรม ไฟฟ้า หมายเหตุ : 1. สมมติฐานตามร่าง PDP 2006 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของ New IPP(ปี 2554-2564) ก๊าซฯ : ถ่านหิน : รับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เท่ากับ 40/40/20 2. ประมาณการอาจเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์พลังงาน/เศรษฐกิจ

  20. Growth 6% (2549-2564) 4% 12% 28% 19% 6,900 5,130 3,095 39% 28% 72% 38% 29% 31% 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ จัดหาก๊าซธรรมชาติอย่างเพียงพอ • DCQ • (ล้านลบ.ฟุต/วัน) • จัดหาตามสัญญาปัจจุบัน 2,880 • จัดหาเพิ่มเติมในประเทศ • อ่าวไทย/เจดีเอ ~2,000 (รองรับท่อเส้นที่ 3) ศักยภาพการจัดหาในอนาคต • LNG (5-10 ล้านตัน) ~700/1,400 • A1 • Natuna • M7/M9 • OCA รวม ~4,000 รวมทั้งสิ้น ~8,880 ล้านลบ.ฟุต/วัน LNG/Regional Gas พม่า ในประเทศแหล่งใหม่ ~2,600 ในประเทศแหล่งปัจจุบัน หมายเหตุ : ประมาณการจัดหาก๊าซธรรมชาติอาจเปลี่ยนแปลงตาม สถานการณ์พลังงาน/เศรษฐกิจ

  21. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ LNG Receiving Terminal • ขนาด : - เริ่มต้น 5 ล้านตัน/ปี (700 ล้าน ลบ.ฟุต/วัน) @ ปี 2554 - อนาคตแผนขยาย 10 ล้านตัน/ปี (1,400 ล้าน ลบ.ฟุต/วัน) • วางท่อบนบกเส้นที่ 4 1,300ล้าน ลบ.ฟุต/วัน เชื่อมต่อ Terminal กับท่อปัจจุบัน/New IPP • แผนสร้างมูลค่าเพิ่มจากความเย็นของ LNG/ท่าเรือ • โรงแยกก๊าซฯ 7 และ 8 • โรงไฟฟ้า/ปิโตรเคมี ที่ตั้งโครงการ : โครงการท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะ 2 LNG Ship LNG Jetty & Terminal LNG Storage Tank

  22. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ ศักยภาพการพัฒนาโครงข่ายท่อส่งก๊าซฯ ภูมิภาค ขยายโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซฯ ระหว่างประเทศ • รองรับความต้องการในประเทศในระยะยาว • รองรับการเป็น Gas Hub • นาทูน่า (อินโดนีเซีย) ~1,100 กม. (ชายแดนอินโดนีเซีย-ระยอง/ทับสะแก) • A1, M7/M9 (พม่า) ~1,030 กม. • OCA (พื้นที่คาบเกี่ยวไทย-กัมพูชา)

  23. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : ก๊าซธรรมชาติ แผนขยายโครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ โครงข่ายปัจจุบัน (2,637 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม Capacity 2,220 1,300 3,520 (MMcfd) ท่อส่งก๊าซฯ ทรานส์ไทย-มาเลเซีย(363 กม.) Capacity (MMcfd) 1,020 แผนขยายในอนาคต (1,705 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม Capacity 3,200 700 3,900 (MMcfd) ความสามารถส่งก๊าซฯ สูงสุดรวม (4,705 กม.) ตะวันออก ตะวันตก รวม (MMcfd) 5,420 2,000 8,440 โครงข่ายระบบท่อย่อย ปัจจุบัน แผนขยาย รวม (กม.) 777 900 1,677

  24. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก (3) น้ำมัน

  25. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น หน่วย: เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน

  26. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง ม.ค. – ต.ค. 2549 วิกฤติราคาน้ำมันแพง พึ่งพาการนำเข้าน้ำมันสูง ถ่านหิน การจัดหาน้ำมันดิบ ม.ค. – ต.ค. 2549 ก๊าซธรรมชาติ • ใช้วันละ 9 แสนบาร์เรล • นำเข้าวันละ 8 แสนบาร์เรล • หรือ 90% ต้องนำเข้า • 82% จาก Middle East ไฟฟ้า น้ำมัน

  27. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน ราคาน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูป ปี 2549 วิกฤตราคาน้ำมัน : ผลกระทบการพึ่งพาการนำเข้า • ขาดดุลการค้า • กระทบอัตราแลกเปลี่ยน • ต้นทุนสินค้า เงินเฟ้อ • เศรษฐกิจชะลอตัว • อัตราว่างงานเพิ่ม • ความไม่สงบทางสังคม ข้อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2549

  28. 1. การบริหารจัดการพลังงานหลัก : น้ำมัน บรรเทาปัญหาน้ำมันแพงเฉพาะกลุ่มอาชีพ (เริ่มตั้งแต่ 28 เม.ย.49) • ลดเก็บเงินเข้ากองทุนฯ เป็นเงิน 1 บาท • ลดเพิ่มให้เฉพาะกับกลุ่มอาชีพ ประมง 2 บาท ขนส่งและเกษตร 1 บาท เร่งส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน เป้าหมายปี 54 • ใช้ NGV แทนร้อยละ 10 • ใช้ Gasohol แทนร้อยละ 10 • ใช้ Biodiesel แทนร้อยละ 10

  29. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน • (1) NGV • (2) Gasohol • Biodiesel

  30. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV

  31. มาตรการภาษี ยกเว้นอากรนำเข้า:อุปกรณ์/ถัง ถึงสิ้นปี 51 :เครื่องยนต์ NGV ลดหย่อนภาษีสรรพสามิต:OEM จาก 30% เหลือ 20% :Retrofits จาก 30 % เหลือ 22 % ไม่เกิน 50,000 บาท ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก BOI เงินทุนหมุนเวียน กองทุนอนุรักษ์ 2,000 ล้านบาท: เปลี่ยนเครื่องให้ - ขสมก. : วงเงิน 1,700 ล้านบาท จำนวน 1,477 คัน - บขส. : วงเงิน 300 ล้านบาท จำนวน 300 คัน ปตท. 5,000 ล้านบาท:ดัดแปลง/เปลี่ยนเครื่องให้ผู้ประกอบการขนส่งเอกชน 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV มาตรการสนับสนุน NGV ที่ได้รับแล้ว

  32. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV มาตรการสนับสนุน • เร่งผลักดันโครงการดัดแปลงรถTaxi LPG เป็นรถ NGV • เร่งออกกฎบังคับให้รถแท็กซี่ใหม่+ตุ๊กตุ๊กใหม่ เป็น NGV • เพิ่มน้ำหนักรถบรรทุกที่ใช้ NGV อีก 1 ตัน เช่นเดียวกับได้อนุญาตให้รถห้องเย็น • อนุญาตให้รถขนส่ง NGV วิ่งได้ 24 ช.ม. จนกว่ามีระบบท่อรองรับ • ออกระเบียบบังคับรถใหม่/รถเช่าของราชการ+รัฐวิสาหกิจต้องเป็น NGV • ขยายโครงการรถ NGV ระยะ 2 โดยของบประมาณจากกองทุนอนุรักษ์ • ปรับปรุงระเบียบ EIA ให้เอื้อต่อการวางท่อและปั๊ม NGV

  33. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : NGV มาตรการเร่งขยายจำนวนรถบรรทุกและรถโดยสาร มุ่งไปยัง Fleet รถใหญ่และ Fleet Owner • ยกเว้นภาษีนำเข้า Chassis with engine CKD รถบรรทุก/โดยสาร NGV • เร่งดัดแปลงรถ ขสมก. 1,477 คันและ บขส.. 300 คัน • ( กองทุนอนุรักษ์ฯ อนุมัติเงินให้แล้ว 2,000 ล้านบาท) • เร่งจัดหารถโดยสาร ขสมก. ใหม่ 2,000 คัน ตามที่ ครม. อนุมัติแล้ว • เร่งดัดแปลงรถโดยสาร ขสมก. / บขส. / รถร่วม ที่เหลืออีก 17,000 คัน • ปตท.เร่งขยายสถานี NGV ในอู่ ขสมก และเส้นทางหลวงสายหลัก • ขยายผลโครงการปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์ NGV • กลุ่ม TPI: รถบรรทุกปูนผง • เจ้าของ Fleet รถบรรทุก/รถหัวลาก (บริษัท เอส ซี แคริเออร์, ฟินมอร์, • นครสวรรค์ตั้งประเสริฐ)

  34. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน (2) น้ำมันแก๊สโซฮอล์

  35. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์ เอทานอล 1.0 ล้านลิตร / วัน เอทานอล 3.0 ล้านลิตร / วัน มติ ครม. 9 ธค. 46 48 50 51 53 54 52 49 47 Phase II Gasohol Mandate Phase I MTBE replacement • รัฐสนันสนุนราคาขาย • มี Spec. แก๊สโซฮอล์ 95 และ 91 • ออกระเบียบให้หน่วยราชการ จัดซื้อรถใช้แก๊สโซฮอล์ได้ • รถยนต์ราชการและรัฐวิสาหกิจให้ใช้แก๊สโซฮอล์ • ทดสอบการใช้แก๊สโซฮอล์ในรถยนต์ระบบคาร์บิวเรเตอร์ - รถยนต์ราชการ/รัฐวิสาหกิจต้องใช้แก๊สโซฮอล์ และสถานีบริการของหน่วยราชการ/รัฐวิสาหกิจต้องจำหน่ายแก๊สโซฮอล์ - ตั้งสถานีบริการ 4,000 แห่ง และ มีการใช้แก๊สโซออล์วันละ 4.0 ล้านลิตร กำหนดนโยบายยกเลิกการใช้ MTBE ใน ULG 95 และใช้แก๊สโซฮอล์ 91 ในบางพื้นที่ มติ ครม. 18 พค. 47 มติ ครม. 19 เมย. 48

  36. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ สถานภาพปัจจุบัน นโยบาย มติ ครม.เมื่อ 17 พ.ค. 46 เห็นชอบให้ 1 ม.ค. 50 ยกเลิกเบนซิน 95 มติ กพช.เมื่อ 4 ก.ย. 49 เห็นชอบการเปิดเสรีโรงงานเอทานอล มติ กพช.เมื่อ 6 พ.ย. 49 เห็นชอบเลื่อนการยกเลิกเบนซิน 95 การใช้แก๊สโซฮอล์ • ปัจจุบันใช้ Gasohol = 3.6 ล้านลิตร/วัน • สถานีบริการ 3,466 แห่ง การผลิตเอทานอล • ปัจจุบันมี 6 โรง รวมกำลังผลิต 855,000 ลิตร/วัน ผลิตได้จริง 705,000 ลิตร/วัน • โรงงานจะเสร็จปี 50 อีก 8 โรง รวม 980,000 ลิตร/วัน • กำลังผลิต ณ ธ.ค. 50 รวม 1,685,000 ลิตร/วัน - มันฯ : 260,000ลิตร/วัน - กากน้ำตาล :1,425,000ลิตร/วัน การกำหนดราคาเอทานอล คณะทำงานกำหนดราคาเอทานอล กำหนดราคาเอทานอล (อิงราคาตลาดโลก : บราซิล) + ค่าขนส่ง แทนการกำหนดราคาจากต้นทุนการผลิต

  37. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน : แก๊สโซฮอล์ Demand & Supply ‘50 มาตรการภาครัฐ • จำหน่าย E10 ทั่วประเทศภายในปี 2554 • สนับสนุนโดย BOI ยกเว้นภาษีสรรพสามิตและภาษีกองทุนน้ำมัน • ส่งเสริมการตลาดโดยให้ราคาขายปลีกแก๊สโซฮอล์ถูกกว่าเบนซิน 95 1.50 บาท/ลิตร • การบังคับให้รถยนต์ราชการใช้น้ำมันแก๊สโซฮอล์ • การประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมการวิจัย

  38. กิจกรรมที่ต้องดำเนินการต่อไปกิจกรรมที่ต้องดำเนินการต่อไป

  39. 2. การส่งเสริมพลังงานทดแทนน้ำมัน (3) ไบโอดีเซล

  40. สถานการณ์ไบโอดีเซลปัจจุบัน สถานการณ์ไบโอดีเซลปัจจุบัน มาตรฐานไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมัน พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2549 • การจัดหาวัตถุดิบ • ส่งเสริมการขยายพื้นที่ปลูกปาล์ม ปี 2549 ขยายพื้นที่ปลูกปาล์มแล้ว 100,000 ไร่ (เป้า 0.72 ล้านไร่) • นำปาล์มส่วนเกินจากการบริโภคมาผลิตเป็นไบโอดีเซล ต.ค. 49 CPO 170,017 ตัน • การผลิตไบโอดีเซล ปัจจุบัน มี 3 โรงงาน กำลังผลิตรวม 590,000 ลิตร/วัน ผลิตไบโอดีเซลได้มาตรฐาน • การจัดจำหน่ายและการใช้ • ประกาศอัตราเงินส่งเข้ากองทุน B5(14 ก.ย. 49) • ราคาขายปลีก B5 ถูกกว่าน้ำมันดีเซล 0.50 บาท/ลิตร • มีสถานีบริการ B5 รวม 290 สถานีปตท. 110 สถานี บางจาก 180 สถานี(26 ธ.ค. 49) • ยอดจำหน่าย B5 เดือนต.ค. 49: 3.4 ล้านลิตร

  41. สถานการณ์ไบโอดีเซลในปัจจุบัน (2) 1.00 0.88 0.75 25.20 25.25 25.225 • ราคาไบโอดีเซล ราคา B100 : 26.10 บาท/ลิตร

  42. สถานการณ์ไบโอดีเซลในปัจจุบัน (3) 18.19 ไบโอดีเซล 18.19

  43. ไบโอดีเซลชุมชน • 1 อำเภอ 1 ไบโอดีเซลชุมชน • พพ. สำรวจศักยภาพ/คัดเลือกชุมชน และสนับสนุด้านเทคนิค • องค์กรปกครองท้องถิ่น จัดหาระบบผลิตไบโอดีเซล • ชุมชน เตรียมวัตถุดิบ/บุคลากร/สถานที่เพื่อรองรับระบบผลิต และ ดำเนินการผลิต • แล้วเสร็จ ธ.ค. 51 สถานภาพปัจจุบัน • โครงการไบโอดีเซล 60 ชุมชน • วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนนำวัตถุดิบในชุมชนเช่น น้ำมันพืชใช้แล้ว มาเพื่อผลิตไบโอดีเซลใช้ทดแทนน้ำมันดีเซลในกิจการของชุมชน และ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ให้กับชุมชนอื่นๆ ต่อไป • บทบาท พพ. สำรวจ/คัดเลือกชุมชน จัดหาระบบผลิตไบโอดีเซลขนาด 100 ลิตร/วัน และฝึกอบรม • บทบาทชุมชน เตรียมวัตถุดิบ/บุคลากร/สถานที่เพื่อรองรับระบบผลิต ดำเนินการผลิต • ปัจจุบัน ติดตั้งแล้วเสร็จทั้ง 60 ชุมชน แผนการดำเนินการต่อไป มาตรฐานไบโอดีเซลชุมชน ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลสําหรับเครื่องยนตการเกษตร (ไบโอดีเซลชุมชน) พ.ศ. 2549 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 21 กรกฎาคม 2549 • ติดตาม พัฒนาและประเมินผลโครงการไบโอดีเซลชุมชน • พัฒนาเครื่องต้นแบบการนำกลีเซอรีนมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในชุมชน • ทดสอบการใช้ไบโอดีเซลชุมชน 100 % กับเครื่องจักรกลการเกษตร

  44. การดำเนินงานต่อไป 18.19 ไบโอดีเซล 18.19

  45. 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า พลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า

  46. 30,000 ล้านบาท 700 120,000 ล้านบาท 650 53,000 ล้านบาท 600 550 500 450 8% ของการใช้พลังงานทั้งหมด (53.4 ล้านบาร์เรล) 400 350 300 48 49 50 51 52 53 54 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า ยุทธศาสตร์และมาตรการพลังงานทดแทน ’48-’54 เป้าหมายพลังงานทดแทน ผลงาน ปี ’46-’48 ล้านบาร์เรล 120,000 ล้านบาท 53,000 ล้านบาท 8% ของการใช้พลังงานทั้งหมด (53.4 ล้านบาร์เรล) เครื่องมือที่ใช้ แนวทางดำเนินงาน 1. มาตรการสนับสนุนค่าไฟฟ้า (Feed-in) • พัฒนาและสาธิต • เทคโนโลยี ร่วมมือและขยายผลกับ ภาคเอกชนการบูรณาการ กับหน่วยงานอื่น 2. สิทธิประโยชน์ทางภาษี 3. เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ 2. ส่งเสริมการใช้ 4. Carbon Credit

  47. ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน <=10 MW 3. การส่งเสริมพลังงานทดแทนผลิตไฟฟ้า ส่งเสริมการใช้ ไฟฟ้า (MW) ปัจจุบัน เป้าหมายปี 2554 ชีวมวล 1,995 2,800 ก๊าซชีวภาพ 4.6 30 แสงอาทิตย์ 25.48 45 น้ำ 44.33 156 ลม 0.55 110 ขยะ 4.25 100 Total 2,074 3,241 มาตรการรับซื้อไฟฟ้า (Feed-in Tariff) • กำหนดราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนที่จูงใจแก่ผู้ลงทุน เช่น • - ผลตอบแทนการลงทุนไม่ต่ำกว่า 11% • - ระยะเวลาคืนทุน 7 ปี มาตรการสนับสนุนอื่นๆ ความร้อน (ktoe) ปัจจุบัน เป้าหมายปี 2554 ชีวมวล 1,8003,660 ก๊าซชีวภาพ 59 186 แสงอาทิตย์ 0.1 5 Total1,859.13,851 • สิทธิประโยชน์ทางภาษี • เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ • ให้ BOI สูงสุดแก่ธุรกิจด้านพลังงานทดแทน • Carbon Credit • สร้างศูนย์องค์ความรู้ -34-

  48. 4. การอนุรักษ์พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน • ภาคขนส่ง • ภาคอุตสาหกรรม • ภาคราชการ • ภาคประชาชน

  49. 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคขนส่ง • ลดการเดินรถเที่ยวเปล่า (180 ktoe) @ (2ktoe) • ส่งเสริม Depot ปรับปรุง ICD (1,500 ktoe) @ (290 ktoe) • ลดการขนส่งทางถนน ไปใช้ Main Line ทางรถไฟ+น้ำ ขนส่งสินค้า Logistics/Depot/ICD ณ ปี 2554 • เป้าหมาย 1,680 ktoe • @ ปัจจุบัน 292ktoe Mass transit Incentive ขนส่งคน • ใช้รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (1,504 ktoe) @ (97 ktoe) • ติดฉลากรถยนต์ • มาตรการภาษี: • รถเก่า ภาษีป้ายตามอายุ ยิ่งเก่า ยิ่งสูง • รถใหม่ ภาษีสรรพสามิตตาม Fuel Consumption • รถติดฉลาก ลดหย่อนภาษีเงินได้ • ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชน: รถโดยสารประจำทาง รถไฟ รถตู้ เรือด่วน เรือข้ามฟาก โดยต่อกับรถไฟฟ้า มีตั๋วต่อ • Feeders • Park & Ride @ (0.5 ktoe) • ปรับปรุงระบบจราจร (106 ktoe) @ (18 ktoe) • รณรงค์ Tune Up, ถ่ายน้ำมันเครื่อง Management • เป้าหมาย 1,610 ktoe • @ ปัจจุบัน203ktoe R&D ใช้เชื้อเพลิงอื่น ไม่มีมาตรการ มีมาตรการ ใช้ 36,203 ktoe ใช้ 30,835 ktoe • Gasohol • เป้าหมาย 30 ล้านลิตร/วัน หรือ 820 ktoe • @ ปัจจุบัน 4 ล้านลิตร/วัน หรือ 108 ktoe • Bio diesel • เป้าหมาย 4 ล้านลิตร/วันหรือ 1,258 ktoe • @ ปัจจุบัน 4,700 ลิตร/วัน หรือ 1.42 ktoe (ลดลง 5,368 ktoe) ใช้เชื้อเพลิงอื่น ลดใช้ 2,078 ktoe (ใช้เชื้อเพลิงอื่นแทน 8%) 3,290 ktoe (ลดใช้น้ำมันลง 9%)

  50. 4. การอนุรักษ์พลังงาน : ภาคอุตสาหกรรม ktoe 1,312 ktoe/ปี BaUs case Actual ภาคอุตสาหกรรมภาพรวมผลการดำเนินงาน 45-48 ลดการใช้พลังงานภาคอุตฯและธุรกิจ : สามารถประหยัดพลังงานได้ 1,312ktoe/ปี คิดเป็นเงิน 25,000 ล้านบาท/ปี* (จากการดำเนินการโดยตรง 7,700 ล้านบาท/ปี) • การฝึกอบรม • อบรม PRE สามัญ 6,000 คน • อบรม PRE อาวุโส 250 คน • อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน • การปฏิบัติตามกฏหมาย • โรงงานควบคุม 2,510 แห่ง • อาคารควบคุม 1,605 แห่ง * 1 ktoe ประมาณ 19.21 ล้านบาท

More Related