1 / 8

สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู ณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕

สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู ณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕. โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๖ และ ๙ และสำนัก ระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ทางระบาดวิทยาโรคคอตีบ.

shana
Download Presentation

สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู ณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบจังหวัดเลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภูณ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๕ โดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เลย เพชรบูรณ์ หนองบัวลำภู สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๖ และ ๙ และสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

  2. สถานการณ์ทางระบาดวิทยาโรคคอตีบสถานการณ์ทางระบาดวิทยาโรคคอตีบ • ณ วันที่ ๒๕กันยายน ๒๕๕๕ พบผู้ป่วยคอตีบจากจังหวัดเลย ๔๖ ราย เพชรบูรณ์ ๑๐ ราย และหนองบัวลำภู ๓ ราย รวม ๕๙ ราย • เป็นชาย ๒๘ ราย หญิง ๓๑ ราย • ค่ามัธยฐานอายุ ๑๒ ปี (๑ปี ๕ เดือน - ๗๒ ปี) • ผู้ป่วยเสียชีวิต ๒ ราย • แบ่งเป็นพื้นที่สำหรับประเมินความเสี่ยง และเข้าควบคุมโรคแล้ว (แสดงระดับหมู่บ้าน/พื้นที่เฉพาะ) ได้แก่ • พื้นที่ระบาด (พบผู้ป่วย/พาหะรายใหม่) ๑๒ จุด • พื้นที่ติดตามต่อเนื่อง (หลังผู้ป่วย/พาหะทานยา ไม่พบเชื้ออีก ๑ เดือน) ๑๘ จุด • พื้นที่ระยะปลอดภัย (ไม่พบผู้ป่วย/พาหะหลังติดตามอีก ๑ เดือน) ๑ จุด • พื้นที่เสี่ยง ควรได้รับการป้องกันด้วยวัคซีนก่อน -ยังประเมินไม่ได้-

  3. จำนวนผู้ป่วยคอตีบตามวันเริ่มป่วย แยกรายที่พบในสถานพยาบาล และที่ค้นหาเพิ่มเติม (จากข้อมูล ๕๙ ราย)

  4. จำนวนผู้ป่วยคอตีบตามวันเริ่มป่วยแยกรายพื้นที่จำนวนผู้ป่วยคอตีบตามวันเริ่มป่วยแยกรายพื้นที่ 2 1 1 1 1 4 3 8 6 13 4 3 3 14 1 1 1 10 10 1 1 1 จำนวนผู้ป่วยต่อพาหะ = ๕๙ : ๓๑

  5. มาตรการเร่งด่วน • ฝึกทักษะการสอบสวนโรคเชิงลึก และการค้นหาผู้ป่วยผู้สัมผัส สำหรับทีม SRRT ระดับอำเภอ-ตำบล พร้อมศึกษาเรียนรู้มาตรการจากพื้นที่ระบาดขณะนี้ • ขยายศักยภาพการตรวจเพาะเชื้อC. diphtheriaeและยืนยันด้วย Biochemistry ในโรงพยาบาลจังหวัด หรือศูนย์วิทย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง • เพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีน DTPในเด็กอายุน้อยกว่า ๗ ปี ที่มีอายุเกินจากเกณฑ์อายุนั้นๆ ก่อน • ตั้งศูนย์บัญชาการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคคอตีบในจังหวัดใกล้เคียงพื้นที่ระบาด • ค้นหาพื้นที่จำเป็นต้องได้รับ dTล่วงหน้าเพื่อลดอัตราป่วยตายในกลุ่มเสี่ยง • รายงานจำนวนผู้ป่วย พาหะ พร้อมทั้งพื้นที่สำหรับประเมินความเสี่ยง และเข้าควบคุมโรคแล้ว เป็นรายสัปดาห์

  6. May Jun Jul Aug Sep • Lao P.D.R • request • DAT 3 doses • First 2 dead • cases reported • in Dansai, Loei • Progressive • outbreak in adults in Dansai, Loei and detected confirm cases in Lomkao PB, and Phakao, Loei • Spread to elderly • and unvaccinated mop-up areas • Found first case • in Phuluang, Loei • Spread to WSP, • Loei, and NhongBualumpoo(Ped group) • Risk of spread • to other groups • Implementation • Early detection • Strengthen surveillance in Nongkhai next to Loei & PB • Investigation: contact tracing • Antibiotic for contact/case/carrier • dT mop-up in affected districts • Operate war room in Wangsapong, Nongbulumpoo • Sero-survey • Prepare SRRT and control team • Set war room in Dansai • Contact tracing + active case finding in cases/carriers’ villages • Antibiotic for contact/case/carriers • dT mop-up in linked villages • Prepare SRRT and control team

  7. ระบบบัญชาการเพื่อป้องกันการระบาดโรคคอตีบ จังหวัดเลย กันยายน – พฤศจิกายน ๒๕๕๕ คณะกรรมการตอบโต้การระบาดโรคคอตีบ ระดับจังหวัด/อำเภอ • ส่วนบังคับบัญชาการ • เป็นผู้ตัดสินใจ ตอบสนองเหตุการณ์ • มอบหมายงาน • รับคำแนะนำทั่วไปจากหน่วยรับผิดชอบ หน่วยLogistic และประสานงาน (เลขาฯ การประชุม) ทีมบริหารจัดการ หน่วยปฏิบัติการติดตาม อาการผู้ป่วยและการกินยา หน่วยปฏิบัติการสอบสวน วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานโรค หน่วยปฏิบัติการด้านวัคซีน และรายงานผลสำเร็จ ทีมข้อมูล และ รายงานโรค ทีมสอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว ทีมสุขศึกษา และ Mop-up dT ทีมติดตามอาการ ผู้ป่วย/ผู้สัมผัส ทีมติดตาม dT/ DTP coverage

  8. ขอบคุณครับ

More Related