1 / 44

A Study of Road Accident in Thailand using Association Rules of Data Mining Technique

A Study of Road Accident in Thailand using Association Rules of Data Mining Technique. การศึกษาอุบัติเหตุจราจรทางถนนในประเทศไทย โดยใช้กฎการหาความสัมพันธ์ของ Data mining.

shad-roach
Download Presentation

A Study of Road Accident in Thailand using Association Rules of Data Mining Technique

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. A Study of Road Accident in Thailand using Association Rules of Data Mining Technique การศึกษาอุบัติเหตุจราจรทางถนนในประเทศไทย โดยใช้กฎการหาความสัมพันธ์ของ Data mining นางสาวพิณรัตน์ นุชโพธิ์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รศ.อดิศักดิ์ พงษ์พูลผลศักดิ์ภาควิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. การศึกษาอุบัติเหตุจราจรทางถนนการศึกษาอุบัติเหตุจราจรทางถนน องค์ประกอบของการจราจรทางถนน 1. องค์ประกอบด้านคน 2. องค์ประกอบด้านยานพาหนะ 3. องค์ประกอบด้านถนน 4. องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม

  3. องค์ประกอบด้านคน • เพศ • อายุ • ประสบการณ์การขับขี่ • การเกิดอุบัติเหตุที่ผ่านมา • การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ • ความสามารถในการมองเห็น • ฯลฯ

  4. องค์ประกอบด้านยานพาหนะองค์ประกอบด้านยานพาหนะ • สภาพเครื่องยนต์ • สภาพระบบไฟฟ้าส่องสว่างและไฟสัญญาณ • สภาพของยางรถยนต์ • ระบบห้ามล้อ • เกียร์ • ระบบควบคุมทิศทางรถ • ฯลฯ

  5. องค์ประกอบด้านถนน • ลักษณะถนนจุดที่เกิดเหตุ • ประเภทผิวจราจร • ความพอเพียงของอุปกรณ์ควบคุมจราจร • ไฟส่องสว่างตามถนนเพียงพอต่อการมองเห็น • ฯลฯ

  6. องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อมองค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม • ฝน • หมอกปกคลุม • ต้นไม้บดบัง • แสงอาทิตย์ส่องตา • ฯลฯ

  7. การแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุการแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรง Fatality (F) คือ การเกิดอุบัติเหตุที่มีผู้เสียชีวิตขณะนั้น หรือเสียชีวิต ภายใน 30 วันหลังการเกิดอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรง Severe (A) คือ การเกิดอุบัติเหตุที่มีผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัส เช่น การเสียเลือดมาก หรือกระดูกหักมากกว่าหนึ่งแห่ง หรือสมองได้รับการกระทบกระเทือนหรือได้รับบาดเจ็บเป็นแผลฉกรรจ์ หรืออวัยวะของร่างกายฉีกขาดถึงขั้นพิการ

  8. การแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุการแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรง Moderate (B) คือ การเกิดอุบัติเหตุที่มีบุคคลได้รับบาดเจ็บปานกลาง เช่น กระดูกหักหนึ่งแห่ง และได้รับบาดเจ็บเป็นแผลแต่ไม่รุนแรงมากนัก รักษาตัวไม่เกินหนึ่งสัปดาห์ก็สามารถกลับไปรักษาตัวที่บ้านได้ เป็นต้น

  9. การแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุการแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรง Minor (C) คือ การเกิดอุบัติเหตุที่มีบุคคลได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น ศีรษะแตกแต่สมองไม่ได้รับการกระทบกระเทือน หรือได้รับบาดเจ็บเป็นแผลเพียงเล็กน้อยเมื่อได้รับการรักษาก็สามารถกลับบ้านได้ หรือมีการร้องขอความช่วยเหลือด้วยความตกใจหรือการเสียสติไปชั่วขณะ

  10. การแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุการแบ่งระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุ • ระดับความรุนแรง Property Damage Only (PDO)คือ การเกิดอุบัติเหตุที่มีแต่ทรัพย์สินเสียหายเพียงอย่างเดียว

  11. คำจำกัดความ • Probability • ค่าความสัมพันธ์ • โอกาสที่จะมีเหตุการณ์จะเกิดขึ้น • Minimum Probability • โอกาสที่น้อยที่สุดที่เหตุการณ์จะเกิด • Minsupt (Minimum Support) • MinConfd (Minimum Confidence) • Threshold

  12. เทคนิคต่าง ๆ ของ Data Mining • Classification & Prediction • Database clustering หรือ Segmentation • Deviation Detection • Link Analysis • Association Rule Discovery

  13. Association Rule Discovery การค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลจากข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีอยู่ เพื่อนำไป ใช้ในการวิเคราะห์ หรือทำนายปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยจะทำการหาความสัมพันธ์ทั้งหมดในทรานแซคชันทุกตัวของเซลข้อมูลที่กำหนดไว้ กฎความสัมพันธ์ที่หาได้ทั้งหมด จะต้องมีความมั่นใจน้อยที่สุดที่กำหนดไว้ เทคนิคนี้จะใช้อย่างแพร่หลายในการวิเคราะห์การซื้อขายสินค้า

  14. ทำไมต้อง Association Rules

  15. วิธีการค้นหากฎความสัมพันธ์ (Discovery of Association Rule) • การหาเซตไอเท็มที่มีค่าสนับสนุนมากกกว่าค่าสนับสนุนน้อยสุดที่กำหนดให้ เรียกเซตนี้ว่า เซตไอเท็มปรากฏบ่อย (frequent itemset) • การนำเซตไอเท็มเหล่านี้มาสร้างเป็นกฎความสัมพันธ์

  16. ตัวอย่างการหาเซตไอเท็มปรากฏบ่อยตัวอย่างการหาเซตไอเท็มปรากฏบ่อย

  17. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ จากตัวอย่าง ระบบของ Data Mining หรือเหมืองข้อมูล อาจจะหากฏความสัมพันธ์กันได้เช่น เพศ (X, ชาย)^ เส้นทาง (X, ทางโค้ง) Support= 67% , เชื่อมั่น = 75 %) ในขณะที่ X เป็นตัวแปรแทน อุบัติเหตุ โดยสนใจเฉพาะ เพศชาย ซึ่งคิดเป็น 67 % ของอุบัติเหตุทั้งหมด เชื่อมั่นว่า 75 % ของเพศชาย จะประสบอุบัติเหตุในทางโค้ง

  18. 67 % 75 % การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

  19. วิเคราะห์ลักษณะทั่วไปและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนนวิเคราะห์ลักษณะทั่วไปและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนน • ศึกษาโดยใช้เทคนิคกฎการหาความสัมพันธ์ (Association Rules) • กำหนดค่า Minimum Probability • จะได้ความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด ซึ่งมีค่าของโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ

  20. Bayes Classification

  21. Bayes Classification

  22. ทดลองหาค่า Minimum Probability ที่เหมาะสม • ทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับค่าเป้าหมายที่กำหนด หากผลลัพธ์ที่ได้อยู่ในขอบเขตที่สามารถยอมรับได้ก็จะสิ้นสุด • ถ้ายังไม่สามารถยอมรับได้ ให้ทำการปรับค่า Minimum Probability เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ยอมรับได้

  23. กำหนดค่า Minimum Probability ของระดับความรุนแรง

  24. การเลือกความสัมพันธ์และกำหนดค่าMinimum Probability

  25. เลือกปัจจัยที่ต้องการหาความสัมพันธ์เลือกปัจจัยที่ต้องการหาความสัมพันธ์

  26. กำหนดค่าMinimum Probabilityเท่ากับ 0.1

  27. ผลที่ได้จากการคำนวณ โดยกำหนดค่า Minimum Probability เท่ากับ 0.1

  28. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของ อุบัติเหตุจราจรทางถนน • จากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน จะใช้ระดับความรุนแรงเพื่อเป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมด

  29. ตัวอย่างตารางแสดงความสัมพันธ์กันของปัจจัยระดับความรุนแรงและเพศ และโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ ค่าเฉลี่ย ค่าความแปรปรวน และค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

  30. กราฟแสดงตัวอย่างของปัจจัยระดับความรุนแรงและเพศ และโอกาสที่เกิดอุบัติเหตุ

  31. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนนปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน ตัวอย่าง

  32. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนนปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน • การหาความสัมพันธ์จะพบว่า สถานภาพของผู้ขับขี่ มีความสัมพันธ์ต่อระดับความรุนแรงในระดับ Severe (A) ซึ่งมีความสัมพันธ์หรือมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ เท่ากับ 0.2271 • แสดงว่า ผู้ขับขี่ มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ ที่มีการได้รับบาดเจ็บสาหัส เช่น การเสียเลือด หรือกระดูกหักมากกว่าหนึ่งแห่ง เป็นต้น

  33. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนนปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน • รองลงมาคือระดับความรุนแรง Minor (C) มีความสัมพันธ์หรือมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ เท่ากับ 0.2085 • แสดงว่า ผู้ขับขี่ มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุที่จะได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น ศีรษะแตกแต่สมองไม่ไดรับการกระทบกระเทือน หรือเป็นแผลเพียงเล็กน้อย

  34. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนนปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน • สุดท้ายคือ ระดับความรุนแรง Moderate (B) เท่ากับ 0.1691 • แสดงว่า ผู้ขับขี่ มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุที่ได้รับบาดเจ็บปานกลาง เช่นกระดูกหักหนึ่งแท่ง และได้รับบาดเจ็บเป็นแผลแต่ไม่รุนแรงมากนัก เป็นต้น

  35. ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนนปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรุนแรงของอุบัติเหตุจราจรทางถนน • สถานภาพของผู้ขับขี่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุใน 3ระดับ • ส่วนระดับความรุนแรงอื่น ๆ และสถานภาพอื่น ๆ ที่ไม่ปรากฎในตารางไม่มีความสัมพันธ์กัน และมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุหรือมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุน้อยมาก

  36. ตัวอย่างกราฟแสดงโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุตัวอย่างกราฟแสดงโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ

  37. การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ด้วย Path Analysis กับการใช้เทคนิค Association Rules Path Analysis • เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุสามารถวิเคราะห์ได้ละเอียดถึง ความสัมพันธ์ทางตรง ความสัมพันธ์ทางอ้อม และความสัมพันธ์ทางหลอกได้

  38. Path Analysis • เป็นการวิเคราะห์ทางสถิติที่อาศัยการประยุกต์วิธีการวิเคราะห์แบบถดถอย (Multiple Regression) มาหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ (Independent Variable: XI) หลาย ๆ ตัว กับตัวแปรตาม (Dependent Variable: Y) ในการวิเคราะห์ด้วยวิธีนี้จะต้องมีการสร้างแบบจำลองปัจจัยขึ้นเสียก่อน โดยการสร้างแบบจำลองจะต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อสมมุติฐานของการศึกษา

  39. การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ด้วย Path Analysis กับการใช้เทคนิค Association Rules Association Rules • เป็นการค้นหาความสัมพันธ์ของข้อมูลจากข้อมูลขนาดใหญ่ที่มีอยู่ เพื่อนำไป ใช้ในการวิเคราะห์ หรือทำนายปรากฏการณ์ต่าง ๆซึ่งผลการวิเคราะห์ที่ได้จะเป็นคำตอบของปัญหา • ในการศึกษาข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุการจราจรทางถนน โดยใช้เทคนิค Association Rules เนื่องจากในการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งจะมีปัจจัยต่าง ๆ มากมายที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุ ไม่ใช่เพียงปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งเท่านั้น

  40. การเปรียบเทียบการวิเคราะห์ด้วย Path Analysis กับการใช้เทคนิค Association Rules

  41. การประยุกต์ใช้งาน การเพิ่มข้อมูลอุบัติเหตุ

  42. การประยุกต์ใช้งาน การวิเคราะห์

  43. การประยุกต์ใช้งาน

  44. จบการนำเสนอ

More Related