1 / 59

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. Provident Fund. คุณคาดว่าจะมีอายุยาวนานเท่าไรหลังเกษียณ ?. จะมีช่วงเวลาหลังเกษียณประมาณ 25 ปี. จะมีช่วงเวลาหลังเกษียณประมาณ 29 ปี. ช่วงอายุเฉลี่ยของคนไทยหลังอายุ 60 ปี. ผู้หญิง. ผู้ชาย. เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อเดือนโดยเฉลี่ยของคนไทยก่อนและหลังวัยเกษียณ.

sezja
Download Presentation

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ Provident Fund

  2. คุณคาดว่าจะมีอายุยาวนานเท่าไรหลังเกษียณ ? จะมีช่วงเวลาหลังเกษียณประมาณ 25ปี จะมีช่วงเวลาหลังเกษียณประมาณ 29 ปี ช่วงอายุเฉลี่ยของคนไทยหลังอายุ 60 ปี ผู้หญิง ผู้ชาย

  3. เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อเดือนโดยเฉลี่ยของคนไทยก่อนและหลังวัยเกษียณเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อเดือนโดยเฉลี่ยของคนไทยก่อนและหลังวัยเกษียณ

  4. = 7,130 x 12 x 29 = 2,481,240 บาท = 7,130 x 12 x 25 = 2,139,000 บาท ต้องมีเงินเท่าไรจึงจะพอหลังวัยเกษียณ ? ค่าใช้จ่ายต่อเดือนหลังเกษียณประมาณ 7,130 บาท วิธีคิดจำนวนเงินขั้นต่ำที่สุดที่ควรมีอย่างง่าย ๆ คือ เอาค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน x 12 x จำนวนปีที่คาดว่าจะอยู่หลังเกษียณ ผู้หญิง ผู้ชาย

  5. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ช่วยคุณได้!!!

  6. นายจ้าง ลูกจ้าง ผลประโยชน์เงินสมทบ 1 3 2 4 เงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์เงินสะสม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพคืออะไร ? เงินสมทบ เงินสะสม ความสมัครใจ

  7. 6.1 สิทธิประโยชน์รายปี – เงินสะสมที่สมาชิกจ่ายเข้ากองทุนไม่เกิน 500,000 บาท ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีในแต่ละปี 6.2 สิทธิประโยชน์เมื่อสิ้นสมาชิกภาพ ประโยชน์สำหรับสมาชิก 1. เสมือนได้รับค่าจ้างเพิ่มขึ้นจากเงินสมทบที่นายจ้างจ่ายให้ 2. เป็นสวัสดิการเงินได้ที่เพิ่มขึ้นเมื่อออกจากงานหรือเกษียณอายุ 3. เป็นหลักประกันแก่ครอบครัว กรณีสมาชิกทุพพลภาพหรือเสียชีวิต 4. เป็นโอกาสออมเงินเพื่อตนเองและครอบครัวเพิ่มขึ้น 5. เงินออมอยู่ภายใต้การบริหารของมืออาชีพ 6. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ

  8. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์รายปี 1 3 เงินสะสมที่สมาชิกจ่ายเข้ากองทุนไม่เกิน 500,000 บาท ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษีในแต่ละปี

  9. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์รายปี (ต่อ) 1 3 เงินสะสม ที่จ่ายเข้ากองทุน ไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเป็นเงินได้เพื่อเสียภาษี 1. หักลดหย่อนในการคำนวณเงินได้เพื่อเสียภาษีตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินปีละ 10,000 บาท 2. ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้าง และไม่เกิน 490,000 บาท ได้รับ การยกเว้น รวม 500,000 บาท

  10. 2. 1. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์รายปี (ต่อ) 1 3 เงินที่พนักงานจ่ายสะสมเข้ากองทุนสามารถนำมา ลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ต่อปี ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท ได้รับการยกเว้นภาษี เงินเดือนรับรายปี หัก ยกเว้นภาษีเงินสะสมส่วนที่เกิน 10,000 บาท คงเหลือ คชจ. 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท รายได้สุทธิขั้นต้น หัก ลดหย่อนส่วนตัว คงเหลือ หัก ลดหย่อนเงินสะสมไม่เกิน 10,000 บาท รายได้สุทธิ ภาษีเงินได้ ไม่เป็นสมาชิกกองทุน 360,000 0 360,000 60,000 300,000 30,000 270,000 0 270,000 12,000 เป็นสมาชิกกองทุน 360,000 8,000 352,000 60,000 292,000 30,000 262,000 10,000 252,000 10,200 ประหยัดภาษี ได้ 1,800 บาท สมมติฐาน : เงินเดือน 30,000 บาท อัตราสะสม 5% ดังนั้นพนักงานส่งเงินสะสมปีละ 18,000 บาท

  11. ตัวอย่าง รายได้ 360,000 บาท ต่อปี ส่งเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 5% 10,000 XXX XXX 8,000

  12. พนักงานต้องมีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป เงินได้เมื่อออกจากงาน สามารถลดหย่อนภาษีได้ 2 ส่วน สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์เมื่อสิ้นสมาชิกภาพ 2 3 ส่วนที่ 1 ลดหย่อนได้ = 7,000 X อายุงาน ส่วนที่ 2 ส่วนที่เหลือหักออกอีกร้อยละ 50

  13. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์เมื่อสิ้นสมาชิกภาพ 2 3 ตัวอย่าง พนักงานได้รับเงินจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเมื่อออกจากงาน 130,000 บาท มีอายุงาน 5 ปี ผลประโยชน์เงินสมทบ เงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์เงินสะสม (100,000 บาท) (30,000บาท) 1.ลดหย่อนภาษีได้ 7,000 X5= 35,000บาท เหลือ = 65,000 บาท 2. หักส่วนที่เหลือได้อีก 50% = 32,500 บาท เงินที่นำมาคำนวณเพื่อคิดภาษีเงินได้ = 32,500 บาท

  14. สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ สิทธิประโยชน์เมื่อสิ้นสมาชิกภาพ (ยกเว้นภาษีทั้งจำนวน) 2 3 • เงินได้เมื่อออกจากงาน ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้ ในกรณีดังนี้ • เกษียณอายุ • - อายุสมาชิกกองทุน 5 ปีขึ้นไป และ • - เกษียณอายุตามข้อบังคับของบริษัท โดยมีอายุ 55 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป • ทุพพลภาพ • เสียชีวิต

  15. ผลประโยชน์ ของเงินสมทบ ผลประโยชน์ ของเงินสะสม เงินสมทบ เงินสะสม ไม่ต้องคำนวณภาษี สรุป สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สมาชิกจะได้รับ เงินก้อนที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คำนวณภาษี โดยสามารถลดหย่อน หรือยกเว้นได้ตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เกษียณอายุและทำงาน > 5 ปี ทำงาน < 5 ปี หรือ ลาออกจากกองทุน เกษียณอายุ (> 55 ปี) และอายุสมาชิก >5 ปี รวมทั้งเสียชีวิต และทุพพลภาพ ไม่ได้ รับการยกเว้น ต้องเสียภาษีเงินได้ ตามปกติ รับการลดหย่อน การเสียภาษีเงินได้ โดย ส่วนที่ 1 : ลดหย่อนได้ = 7,000 Xอายุงาน ส่วนที่ 2 : ที่เหลือหักค่าใช้จ่ายออกอีก 50% ได้ รับการยกเว้น ไม่ต้องนำไปคำนวณ เงินได้เพื่อเสียภาษี

  16. ผลประโยชน์ ของเงินสมทบ เงินสมทบ ผลประโยชน์ ของเงินสะสม เงินสะสม เงินกองทุนนายจ้างเดิม ผลประโยชน์ ของเงินสมทบ สมทบ เงินสะสม ผลประโยชน์ ของเงินสะสม เงินกองทุนนายจ้างใหม่ เริ่มต้นใหม่ สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับพนักงาน เมื่อสมาชิกออกจากงาน (กรณีโอนย้ายงาน) 3 3 3 3 • เงินได้เมื่อออกจากงาน กรณีโอนย้ายงาน จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีในการนับอายุงานของแต่ละบริษัทต่อเนื่องกันได้ เมื่อสมาชิกได้ทำการโอนย้ายเงินกองทุน • จำนวนเงินทั้ง 4 ส่วน จะถูกโอนย้ายไปกองทุนใหม่

  17. ข้อบังคับกองทุน สมาชิกต้องทำความเข้าใจกับข้อบังคับกองทุน เพราะข้อบังคับเปรียบเสมือนกับ “แผนที่” เดินทางที่จะบอกถึงกฎ กติกา และสิทธิต่างๆ ตั้งแต่การเข้าเป็นสมาชิก จนถึงการสิ้นสุดสมาชิกภาพจากกองทุนว่าต้องทำอย่างไร ลักษณะการลงทุน ผลตอบแทนที่คาดหวัง และความเสี่ยง ทำความเข้าใจเรื่องนโยบายการลงทุน กองทุนนำเงินไปลงทุนในตราสารประเภทใดบ้าง มีความเสี่ยง และผลตอบแทนที่คาดหวังอย่างไร การสมัครเข้าเป็น สมาชิกกองทุน และอื่นๆ สมาชิกที่มีคุณสมบัติตามที่ข้อบังคับกองทุนกำหนดกรอกใบสมัครการเข้า เป็นสมาชิกกองทุน ตามแบบที่คณะกรรมการกองทุนกำหนด ข้อควรรู้ก่อนเป็นสมาชิกกองทุน

  18. นายจ้าง บริษัทนายจ้าง แต่งตั้ง คณะกรรมการกองทุนฝ่ายนายจ้าง คณะกรรมการกองทุน ลูกจ้าง สมาชิกกองทุน เลือกตั้ง คณะกรรมการกองทุนฝ่ายสมาชิก บุคคลที่สมาชิกควรรู้จัก

  19. คณะกรรมการกองทุน รายชื่อคณะกรรมการกองทุนเฉพาะส่วน 9 คน กรรมการกองทุนฝ่ายนายจ้าง 1.ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน 2. รองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิงมธุรส รุจิรวัฒน์ 3. ศาสตราจารย์ นายแพทย์พิทยภูมิ ภัทรนุธาพร 4. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชัยชน โลว์เจริญกูล 5. รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑามาศ สัตยวิวัฒน์ กรรมการกองทุนฝ่ายสมาชิก 1.ดร.พูลศักดิ์ สหกิจพิจารณ์ 2. นางลาวัณย์ โมกขศักดิ์ 3. นายสุวิจักขณ์ ศรีสุวรรณ์ 4. นางพนิดา ฟังธรรม

  20. คณะกรรมการกองทุน บุคคลที่สมาชิกควรรู้จัก สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) นายจ้าง ลูกจ้าง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ บริษัทจัดการ ผู้สอบบัญชี ผู้รับฝากทรัพย์สิน เงินฝาก นายทะเบียนสมาชิก พันธบัตร อื่น ๆ หุ้นสามัญ

  21. ข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน มูลนิธิจุฬาภรณ์ ภายใต้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว

  22. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน เงื่อนไขการเข้าเป็นสมาชิก (1) พนักงานตามสัญญาว่าจ้างอย่างถาวรของมูลนิธิจุฬาภรณ์เท่านั้น จึงจะมีสิทธิสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุน อนึ่ง ให้เป็นอำนาจและดุลพินิจของกองทุนเฉพาะส่วนในการพิจารณาการสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนในกรณีอื่นใดนอกเหนือจากหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น (2) สมาชิกที่สิ้นสุดสมาชิกภาพในกรณีลาออกจากกองทุนโดยไม่ออกจากงาน สามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนได้อีกโดยต้องลาออกจากกองทุนไปแล้วไม่ต่ำกว่า 1 ปี นับจากวันสิ้นสุดสมาชิกภาพจากกรณีดังกล่าว

  23. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน อัตราเงินสะสม และเงินสมทบ  อัตราเงินสะสม สมาชิกสามารถเลือกจ่ายเงินสะสมได้ในอัตราร้อยละ 4 หรือ 5 หรือ 6 หรือ 7 หรือ 8 ของค่าจ้าง ทั้งนี้ สมาชิกสามารถเปลี่ยนแปลงอัตราการจ่ายเงินสะสมได้ปีละ 1 ครั้ง โดยหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการในการเลือกหรือเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสะสมให้เป็นไปตามที่กองทุนเฉพาะส่วนกำหนดไว้

  24. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน อัตราเงินสะสม และเงินสมทบ (ต่อ)  อัตราเงินสมทบ นายจ้างจ่ายเงินสมทบในอัตราร้อยละ 8 ของค่าจ้าง

  25. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (1)การจ่ายเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสม สมาชิกมีสิทธิได้รับเงินสะสมและผลประโยชน์ของเงินสะสมเต็มจำนวน

  26. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) (2) การจ่ายเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ 2.1 สมาชิกที่พ้นจากการเป็นลูกจ้างด้วยเหตุถูกไล่ออกหรือนายจ้างเลิกจ้าง เนื่องจากฝ่าฝืน ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานหรือระเบียบหรือคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม ในเรื่องที่ร้ายแรง สมาชิกผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ * เลขข้อที่อ้างอิงเป็นเพียงเลขที่ใน presentation เท่านั้น

  27. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) (2) การจ่ายเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ (ต่อ) 2.2 การสิ้นสุดสมาชิกภาพในกรณีดังต่อไปนี้ สมาชิกผู้นั้นมีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ ของเงินสมทบ 100% (1) สมาชิกที่พ้นจากการเป็นลูกจ้างด้วยเหตุเสียชีวิต ทุพพลภาพ หรือ เกษียณอายุ (2) สมาชิกที่พ้นจากการเป็นลูกจ้างด้วยเหตุนายจ้างเลิกจ้าง โดยสมาชิกผู้นั้นไม่ได้กระทำความผิดต่อระเบียบข้อบังคับการทำงานของนายจ้าง (3) สมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพด้วยเหตุนายจ้างถอนตัวจากการเป็นนายจ้างของกองทุน (4) สมาชิกพ้นจากการเป็นลูกจ้างและมีการโอนย้ายตามนโยบายของนายจ้างให้ไปทำงานกับนายจ้างรายใหม่ซึ่งเป็นองค์กรหรือหน่วยงานในกลุ่มของนายจ้าง โดยสมาชิกนั้นได้ขอโอนเงินกองทุนที่ตนมีสิทธิได้รับจากกองทุนภายใต้นายจ้างนี้ไปอยู่ภายใต้นายจ้างรายใหม่หรือกองทุนของนายจ้างรายใหม่ทั้งนี้ รายชื่อองค์กรหรือหน่วยงานในกลุ่มของนายจ้างให้เป็นไปตามที่นายจ้างประกาศกำหนด

  28. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) 2.3 สมาชิกที่สิ้นสุดสมาชิกภาพด้วยเหตุลาออกจากกองทุนโดยไม่ออกจากงาน สมาชิกมีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ อายุสมาชิกภาพอัตราเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ ที่กองทุนจะจ่ายเมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพ น้อยกว่า 3 ปี 0% ตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 6 ปี 50% ตั้งแต่ 6 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี 75% ตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป 100% * เลขข้อที่อ้างอิงเป็นเพียงเลขที่ใน presentation เท่านั้น

  29. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) 2.4 การสิ้นสุดสมาชิกภาพกองทุนในกรณีอื่นนอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ 2.2 หรือ 2.3 สมาชิกมีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) สมาชิกที่เคยเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนในกองทุนเงินสะสม สมทบ (“สวัสดิการเดิม”) ของมูลนิธิจุฬาภรณ์ ให้มีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามอายุสมาชิกภาพของสมาชิกนั้น โดยให้นับอายุสมาชิกภาพต่อเนื่องจากสวัสดิการเดิมเพื่อประโยชน์ในการได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ (2) สมาชิกที่กองทุนเฉพาะส่วนอนุมัติให้เข้าเป็นสมาชิกกองทุนภายในวันที่ 10 มกราคม 2554 ให้มีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามอายุงานของสมาชิกนั้น * เลขข้อที่อ้างอิงเป็นเพียงเลขที่ใน presentation เท่านั้น

  30. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) (3) สมาชิกที่กองทุนเฉพาะส่วนอนุมัติให้เข้าเป็นสมาชิกกองทุนตั้งแต่วันที่ 11 มกราคม 2554 เป็นต้นไป ให้มีสิทธิได้รับเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบตามอายุสมาชิกภาพของสมาชิกนั้น (4) อัตราเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบที่สมาชิกมีสิทธิได้รับตามข้อ 2.4 (1) (2) และ (3) ให้เป็นไปตามอัตราดังนี้ * เลขข้อที่อ้างอิงเป็นเพียงเลขที่ใน presentation เท่านั้น

  31. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) อายุงาน หรือ อายุสมาชิกภาพอัตราเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบที่กองทุนจะจ่ายเมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพ น้อยกว่า 3 ปี0%ตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 6 ปี50%ตั้งแต่ 6 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี75%ตั้งแต่ 10 ปี ขึ้นไป100%

  32. สรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วนสรุปข้อบังคับกองทุนเฉพาะส่วน หลักเกณฑ์การจ่ายเงินสะสมและเงินสมทบแก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ต่อ) เงินสมทบในส่วนที่ไม่ได้จ่ายให้แก่สมาชิก ส่งคืนนายจ้าง

  33. นโยบายการลงทุน K Master Pooled Fund

  34. มูลนิธิจุฬาภรณ์ 100% 5.ผสม หุ้น และ FIFไม่เกิน 25% 1.ตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐ สถาบันการเงิน 4.ผสม หุ้นไม่เกิน 25% 2.ตราสารหนี้ 3.*ผสม หุ้นไม่เกิน 10% ≤ 30% ≤ 30% กช. เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ≤ 5% ≥ 45% ≥ 45% ≤ 30% ≤ 25% ≤ 35% ≤ 10% ≤ 25% ≥ 60% ≥ 65% K Master Pooled Fund – Phase1 : สมาชิก 1คนเลือก 1 นโยบายการลงทุน นายจ้าง กองทุน (นิติบุคคล) นโยบาย การลงทุน สมาชิก หมายเหตุ : สมาชิก 1คนเลือก 1นโยบายการลงทุน เปลี่ยนนโยบายได้ปีละ 1 ครั้ง โดยแจ้งล่วงหน้าไม่ต่ำกว่า 3 เดือน * นโยบายการลงทุนที่ 3 เป็นนโยบายการลงทุนใหม่ เริ่ม 1 ก.ค. 2553

  35. นโยบายการลงทุน K Master Pooled Fund ตราสารหนี้ ระยะสั้น ภาครัฐสถาบันการเงิน

  36. กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ - ตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐ สถาบันการเงิน 100% นโยบายการลงทุน* รายละเอียดการลงทุน เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน อาทิ - พันธบัตรรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ - ตั๋วเงินคลัง - ตราสารหนี้ของธนาคาร และสถาบันการเงิน อายุครบกำหนดเฉลี่ย ไม่เกิน 1 ปี * แผนการลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาวะตลาดภายใต้กรอบของสัญญา

  37. อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยตั้งแต่จัดตั้งกองทุน = 4.47% (2540 - ก.ย. 2553) * อัตราอ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุน: 50% ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปีที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ย ของ BBL,SCB, KBANK, KTB + 50% ของดัชนีอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุคงที่ของสมาคมตราสารหนี้ไทย อายุ 6 เดือน

  38. นโยบายการลงทุน K Master Pooled Fund ตราสารหนี้

  39. กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ - ตราสารหนี้ ≤ 35% ≥ 65% นโยบายการลงทุน* รายละเอียดการลงทุน ตราสารหนี้ภาคเอกชน อาทิ - หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงิน บริษัทเอกชน เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน อาทิ - พันธบัตรรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ - ตั๋วเงินคลัง - ตราสารหนี้ของธนาคาร และสถาบันการเงิน * แผนการลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาวะตลาดภายใต้กรอบของสัญญา

  40. อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยตั้งแต่จัดตั้งกองทุน = 4.89% (2540 - ก.ย. 2553) *อัตราอ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุน: 50%ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปีที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL,SCB, KBANK, KTB + 50% ของดัชนีอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุคงที่ของสมาคมตราสารหนี้ไทย อายุ 2ปี

  41. นโยบายการลงทุน K Master Pooled Fund ผสมหุ้น ไม่เกิน 25%

  42. กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ - ผสม หุ้นไม่เกินร้อยละ 25 ≤ 30% ≥ 45% ≤ 25% นโยบายการลงทุน* รายละเอียดการลงทุน ตราสารหนี้ภาคเอกชน อาทิ - หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงิน บริษัทเอกชน เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน อาทิ - พันธบัตรรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ - ตั๋วเงินคลัง - ตราสารหนี้ของธนาคาร และสถาบันการเงิน ตราสารทุน อาทิ - หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ - ใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้น * แผนการลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาวะตลาดภายใต้กรอบของสัญญา

  43. อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยตั้งแต่จัดตั้งกองทุน = 8.18% (2536 - ก.ย. 2553) * อัตราอ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุน: 18.75% SET Index + 40.50%ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปีที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL,SCB, KBANK, KTB + 40.75% ของดัชนีอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุคงที่ของสมาคมตราสารหนี้ไทย อายุ 2 ปี

  44. นโยบายการลงทุน K Master Pooled Fund ผสมหุ้นและ FIF ไม่เกิน 25%

  45. กช.เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ - ผสม หุ้น และ FIF ไม่เกินร้อยละ 25 ≤ 30% ≤ 5% ≥ 45% ≤ 25% นโยบายการลงทุน* รายละเอียดการลงทุน ตราสารหนี้ภาคเอกชน อาทิ - หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงิน บริษัทเอกชน ตราสารทุน อาทิ - หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ - ใบสำคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุ้น เงินฝาก ตราสารหนี้ภาครัฐ และสถาบันการเงิน อาทิ - พันธบัตรรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ - ตั๋วเงินคลัง - ตราสารหนี้ของธนาคาร และสถาบันการเงิน - หน่วยลงทุนของกองทุน ที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF ลงทุนได้ไม่เกิน 5%) * แผนการลงทุนอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาวะตลาดภายใต้กรอบของสัญญา

  46. อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยตั้งแต่จัดตั้งกองทุน = 6.27% (2539 - ก.ย. 2553) * อัตราอ้างอิงผลการดำเนินงานกองทุน: 18.75% SET Index + 40.50%ของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 1 ปี ที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพึงได้รับ วงเงิน 1 ล้านบาท เฉลี่ยของ BBL,SCB, KBANK, KTB + 40.75% ของดัชนีอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุคงที่ของสมาคมตราสารหนี้ไทย อายุ 2 ปี

  47. จุดประสงค์การลงทุน และความเสี่ยง ผลตอบแทน 5. ผสม หุ้น และ FIF ไม่เกิน25% 4. ผสม หุ้นไม่เกิน25% 3. ผสม หุ้นไม่เกิน10% 1. ตราสารหนี้ระยะสั้นภาครัฐ สถาบันการเงิน 2. ตราสารหนี้ วัตถุประสงค์การลงทุนต้องการผลประโยชน์ ในรูป + ดอกเบี้ย + เงินปันผล + กำไรส่วนเกินทุนจาก ตราสารหนี้ และตราสารทุน+ มีการกระจาย การลงทุนใน ตปท. วัตถุประสงค์การลงทุนต้องการผลประโยชน์ในรูป + ดอกเบี้ย + เงินปันผล + กำไรส่วนเกินทุนจาก ตราสารหนี้ และตราสารทุน วัตถุประสงค์การลงทุนต้องการผลประโยชน์ในรูป + ดอกเบี้ย + เงินปันผล + กำไรส่วนเกินทุนจาก ตราสารหนี้ และตราสารทุน วัตถุประสงค์การลงทุนต้องการผลประโยชน์ ในรูป + ดอกเบี้ย + มีความเสี่ยง จากการลงทุนต่ำ วัตถุประสงค์การลงทุนต้องการผลประโยชน์ในรูป + ดอกเบี้ย + กำไรส่วนเกินทุน จากตราสารหนี้ ความเสี่ยง

  48. การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิต่อหน่วย ระยะเวลา 8 ปี 9 เดือน (2545 -ก.ย. 2553)

  49. กรอกใบสมัครเป็นสมาชิกกองทุนกรอกใบสมัครเป็นสมาชิกกองทุน ใบแจ้งความประสงค์เลือกนโยบายการลงทุน • หนังสือแต่งตั้งผู้รับผลประโยชน์ • ควรระบุชื่อผู้รับผลประโยชน์และสัดส่วนเงินที่จะได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ • ในกรณีที่สมาชิกเสียชีวิต การสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุน

  50. 34

More Related