1 / 22

การจำแนกความ หลากหลาย ของ เชื้อพันธุกรรม ข้าวทาง ลักษณะสัณฐานวิทยา

Classification Genetic Diversity of Rice by Morphological Traits. การจำแนกความ หลากหลาย ของ เชื้อพันธุกรรม ข้าวทาง ลักษณะสัณฐานวิทยา. กิตติมา รักโสภา ประจักษ์ เหล็งบำรุง พีรพล ม่วงงาม สมทรง โชติชื่น. http://factsanddetails.com/asian/cat62/sub408/item2611.html.

seven
Download Presentation

การจำแนกความ หลากหลาย ของ เชื้อพันธุกรรม ข้าวทาง ลักษณะสัณฐานวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Classification Genetic Diversity of Rice by Morphological Traits การจำแนกความหลากหลายของเชื้อพันธุกรรมข้าวทางลักษณะสัณฐานวิทยา กิตติมา รักโสภา ประจักษ์ เหล็งบำรุง พีรพล ม่วงงาม สมทรง โชติชื่น http://factsanddetails.com/asian/cat62/sub408/item2611.html

  2. การศึกษาความสัมพันธ์ทางสายเลือดและความหลากหลายของเชื้อพันธุกรรมพืชสามารถทําได้ 3 แนวทาง • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของลักษณะที่ปรากฏ (phenotype) • โดยการเก็บข้อมูลสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของพืชแล้วนําข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ความเหมือนหรือความแตกต่างของสายพันธุ์พืช 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางเครือญาติ โดยใช้ข้อมูลการสืบประวัติพ่อแม่พันธุ์ย้อนหลังไปจนถึงบรรพบุรุษดั้งเดิม 3) การใช้เครื่องหมายทางโมเลกุล (molecular marker)

  3. อุปกรณ์และวิธีการ • รวบรวมฐานข้อมูลทุติยภูมิของเชื้อพันธุกรรมข้าว (Secondary Data) โดยขอความอนุเคราะห์ข้อมูลจากศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติปลูกและเก็บข้อมูล ฤดูนาปี 2542 จำนวน 211 พันธุ์ • การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลการจัดกลุ่ม (Cluster Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป NTSYS pc 2.2 • จำแนกโดยลักษณะสัณฐานวิทยา จำนวน 19 ลักษณะ คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือนวิธี simple matching และ จัดกลุ่มโดยวิธี UPGMA (Unweighted Pair-Group Method with Arithemetic average) • จำแนกโดยลักษณะทางการเกษตร จำนวน 11 ลักษณะ ร่วมกับลักษณะสัณฐานวิทยา ข้อมูลที่เป็นอันดับ (ordinal data) จำนวน 14 ลักษณะ คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือนวิธี Euclidean Distance Coefficient และจัดกลุ่มโดยวิธี Ward’s Clustering

  4. ลักษณะสัณฐานวิทยา • การแตกระแง้ • ขนบนเปลือกเมล็ด • ชนิดข้าวสาร • มุมยอดแผ่นใบ • รูปร่างลิ้นใบ • ลักษณะใบธง • สีกลีบฐานรองดอก • สีกาบใบ • สีข้อต่อใบ • สีข้าวกล้อง • สีปล้อง • สีเปลือกเมล็ด • สีแผ่นใบ • สียอดเกสรตัวเมีย • สียอดดอก • สีลิ้นใบ • สีหางข้าว • สีหูใบ • หางข้าว

  5. ลักษณะทางการเกษตร • ความยาวของลิ้นใบ • เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น • อายุข้าวที่ออกดอก 50 % • ความยาวของลำต้น • ความยาวแผ่นใบ • ความกว้างของแผ่นใบ • จำนวนรวง • ความยาวรวง • น้ำหนัก 100 เมล็ดข้าวเปลือก • ความยาวของเมล็ดข้าวเปลือก • ความกว้างของเมล็ดข้าวเปลือก

  6. ผลการทดลองและวิจารณ์ จัดกลุ่มได้ทั้งหมด 33 กลุ่ม โดยกลุ่มหลักที่มีสมาชิกพันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ขึ้นไป จำนวน 6 กลุ่มหลัก จัดกลุ่มได้ทั้งหมด 25 กลุ่ม โดยกลุ่มหลักที่มีสมาชิกพันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ขึ้นไป จำนวน 9 กลุ่มหลัก การจัดกลุ่ม พันธุ์ข้าว ลักษณะทางการเกษตร ลักษณะสัณฐานวิทยา

  7. การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยาการจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา

  8. การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยาการจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา ข้าวห้าร้อย ขาวเกษตร เจ๊กเชยเตี้ย ขาวตาแห้ง ขาวสมุทร ขาวราชินี ขาวคันนา สีสมนึก ขาวกอเดียว เปเล่ นางขาว ขาวตาก้อย สร้อยทอง พวงเงิน ข้าวเม็ดเล็ก พวงทอง นางมา สร้อยทอง เหรียญทอง ขาวตาแห้ง หลวงหนัก นอนทุ่ง ขาวสมุทร นางเหลือง นางพญา 12 ขาวหางม้า ไบเล่ ขาวประจวบ ขาวตาแห้ง ขาวกอหัก ขาวต้นแข็ง ขาวแก้วหนัก ขาวตาเอ๊ก ขาวสมุทร ขาวพวง ขาวแก้ว ขาวแก้ว รากแห้ง รวงทอง จุดมอญ ขาวเกษตร ขาวมะลิ พวงเงิน หย่องไท้ ภูเขียว ข้าวกลาง ขาวงาช้าง เหลืองประทิวเบา ขาวสมนึก ขาวสมนึก จังวายปะเดา เสมอพรหม ขาวหางดอก พญาหนอง เหลืองทอง ขาวตามี ขาวพวง ขาวบำรุง ขาวตาท้วม เหลืองอรัญ เจ๊กเชย ขาวกอ เหรียญทอง นางขาวเบา ขาวคันนา ขาวปากท่อ ขาวมะลิ รากแห้ง ขาวมะลิ ขาวประจวบ ขาวมะลิ ขาวอากาศ ขาวเกษตรเบา ขาวกอเดียว พันธุ์กล้วย เหลืองเกษตร สร้อยขิง ขาวชัยนาท เหลืองชัยภูมิ ขาวตาหนับ ขาวตาเนียน หอมนางนวล ขาวตาแห้งรังสี หลวงประทาน ขาวหลวง ขาวหลวง ขาวมะลิ เหลืองครก มะลิทอง ขาวพวง เกษตรกลางปี ขาวตาแห้ง ขาวเกษตร ขาวตาแห้ง เหลืองพันธุ์ทอง หอมดง ขาวเกษตร ขาวประกวด ขาวตาแห้งเบา ขาวรังสี ขาวเม็ดเล็ก เหลืองดง ขาวแตงโม นครชัยศรี เสมอใจ สาวน้อย ขาวสมนึก บางกอก ขาวตาถึก ลอยแพ ขาวสมุทร ขาวสนับ ขาวก้นแก้ว ขาวยายเบียบ ขาวลอดช่อง ภูเขา ก้นงอนหนัก ใบเหลือง ขาวพวง นกเขา ไต้หวัน นางงาม ขาวตาแห้งหนัก พวงเงิน นางมล ขาวหลวง ขาวคันนา ขาวตาแพ นางสาวไทย เขาก่อ ยายมอญ ขาวตาซะ ขาวหลวง ขาวหลวง ขาวตาเบา เหรียญทอง กอตะไคร้ กลุ่มที่ 1 มีสมาชิก 137 พันธุ์

  9. กลุ่มที่ 2 เหลืองสวน ขาวลุงฉ่อย เหลืองเปลื้องหนี้ เหลืองไอ้ด้วน เหลืองอ่อน หอมไชยา เหลืองประทิว เหลืองอ่อน เหลืองทอง เหลืองหลวง เหลืองอ่อน แข่วิง เหลืองเตี้ย เหลืองดง เหลืองราชบุรี หอมดง มีสมาชิก 16 พันธุ์ การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา

  10. กลุ่มที่ 3 เหลืองบิด เหลืองหอม พวงหางหมู ข้าวเหลือง เหลืองเพชร พวงลำดวน สาวลืมวาง ขาวประจวบ พญาชม พญาชม ขาวหลวง เหลืองเต่า มีสมาชิก 12 พันธุ์ การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา

  11. เหลืองหอม ล้นยุ้ง เหลืองยายมี รวงสะแก เหลืองบังใบ กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 9 กลุ่มที่ 15 มีสมาชิก 5 พันธุ์ มีสมาชิก 3 พันธุ์ มีสมาชิก 6 พันธุ์ ใบตก เหลืองทอง มะลิเลี้อย การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา ผะวะพะ เขียวใบสี ก้นแก้ว ก้นแก้ว ก้นจุด พวงทอง

  12. การจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยาการจำแนกลักษณะสัณฐานวิทยา

  13. การจำแนกลักษณะทางการเกษตรการจำแนกลักษณะทางการเกษตร

  14. กลุ่มที่ 2 การจำแนกลักษณะทางการเกษตร ขาวกอหัก เหลืองพรรณงาม เหลืองเต่า เหลืองเตี้ย หลวงเบา สาวน้อย ขาวสมุทร พวงนาค สีสมนึก ขาวตาเบา ขาวตาถึก พญาชม ขาวตาซะ ขาวประจวบ เขาก่อ หอมดง มีสมาชิก 16 พันธุ์

  15. การจำแนกลักษณะทางการเกษตรการจำแนกลักษณะทางการเกษตร ภูเขา ขาวปากท่อ นางเกตุ เหนียวตีนผึ้ง หย่องไท้ ขาวเกษตรเบา สร้อยขิง ขาวอากาศ เจ๊กเชยแดง ขาวตามี เหลืองทอง เหรียญทอง เหรียญทอง สร้อยทอง เหลืองเปลื้องหนี้ เหลืองอรัญ เจ๊กเชย ขาวต้นแข็ง ขาวกอ ขาวสนับ พวงเงิน รวงทอง สร้อยทอง พญาหนอง พวงทอง พวงหางหมู เหลืองสวน ขาวคันนา เกษตรกลางปี ขาวแก้ว ขาวสมนึก ขาวพวง ขาวคันนา ขาวบำรุง ขาวหลวง ขาวหลวง ขาวหลวง ขาวคันนา พันธุ์กล้วย นางขาว ขาวตาท้วม ก้นงอนหนัก นางเหลือง เหลืองอ่อน กลุ่มที่ 3 เปเล่ พวงหางม้า สองรวง ขาวเกษตร ขาวเกษตร ขาวตาแห้ง เหลืองครก พญาชม เสมอใจ ขาวตาแห้ง นครชัยศรี เหลืองหลวง เหลืองอ่อน ขาวตาแห้ง ภูเขียว ขาวเกษตร หอมนางนวล ขาวตาแห้งเบา เหลืองบังใบ ขาวตาเนียน ขาวประกวด ขาวตาแห้งหนัก เหลืองประทิว ข้าวกลาง รวงสะแก เหลืองดง เหลืองชัยภูมิ เหลืองประทิวเบา เสมอพรหม ขาวตาแห้งรังสี บางกอก มีสมาชิก 126 พันธุ์ ขาวหางดอก ขาวสมนึก เหรียญทอง ขาวพวง ขาวพวงแก้ว ขาวสมุทร ข้าวเหลือง ขาวตาแห้ง ขาวตาแห้ง ขาวเกษตร เหลืองหอม ขาวสมุทร เหลืองเพชร ขาวงาช้าง เหลืองราชบุรี เหลืองดง เหลืองยายมี เหลืองใหญ่ สาวลืมวาง ขาวกอเดียว ลอยแพ กอตะไคร้ ขาวประจวบ เหลืองบิด ขาวตาก้อย เจ๊กเชยเตี้ย เหลืองหอม ขาวรังสี ขาวแตงโม ไบเล่ ขาวกอเดียว ขาวก้นแก้ว ขาวตาเอ๊ก ขาวยายเบียบ เหลืองพันธุ์ทอง จุดมอญ ก้นแก้ว มะลิเลี้อย ขาวสมนึก ขาวราชินี นางพญา 12 นอนทุ่ง หลวงหนัก เขียวใบสี เหลืองเกษตร ขาวชัยนาท พวงทอง หลวงประทาน ขาวหลวง ขาวหลวง ขาวหลวง

  16. กลุ่มที่ 4 การจำแนกลักษณะทางการเกษตร ขาวลอดช่อง ขาวประจวบ ก้นแก้ว ก้นแก้ว 15 ก้นแก้ว ขาวลุงฉ่อย เหลืองทอง พวงเงิน ขาวหางม้า ขาวพวง ขาวเม็ดเล็ก พวงเงิน นางมา พวงลำดวน ข้าวเหลือง ข้าวเม็ดเล็ก ขาวปราจีน มีสมาชิก 17 พันธุ์

  17. กลุ่มที่ 8 การจำแนกลักษณะทางการเกษตร มีสมาชิก 11 พันธุ์ ขาวพวง รากแห้ง ยายมอญ นางมล ขาวแก้ว หอมดง รากแห้ง ขาวตาแพ นางสาวไทย เหลืองอ่อน ใบเหลือง

  18. การจำแนกลักษณะทางการเกษตรการจำแนกลักษณะทางการเกษตร น้ำสะกุย มาแขก หมากแขก เหลืองทอง กลุ่มที่ 6 มีสมาชิก 3 พันธุ์ ขาวมะลิ ล้นยุ้ง ขาวสมุทร กลุ่มที่ 9 มีสมาชิก 4 พันธุ์

  19. การจำแนกลักษณะทางการเกษตรการจำแนกลักษณะทางการเกษตร เหนียวแดงน้อย เหนียวดำน้อย ขาวมะลิ ขาวมะลิ ขาวมะลิ กลุ่มที่ 10 มีสมาชิก 5 พันธุ์ กลุ่มที่ 17 ข้าวแดงหนัก ข้าวแดงเบา เหลืองไว มีสมาชิก 3 พันธุ์

  20. การจำแนกลักษณะทางการเกษตรการจำแนกลักษณะทางการเกษตร

  21. สรุปผลการทดลอง • การจัดกลุ่มลักษณะทางสัณฐานวิทยา สามารถแบ่งกลุ่มพันธุ์ข้าวได้ 6 กลุ่มหลัก โดยกลุ่มที่ 1 มีสมาชิกภายในกลุ่มพันธุ์ข้าวสูงสุด จำนวน 137 พันธุ์ เมื่อพิจารณาภายในแต่ละกลุ่มของลักษณะสัณฐานวิทยา ส่วนใหญ่สีแผ่นใบจะเป็นสีเขียว สีกาบใบสีเขียว สีลิ้นใบสีขาว รูปร่างของลิ้นใบมีสองยอด สีหูใบสีเขียวอ่อน สีข้อต่อใบสีเขียวอ่อน สียอดดอกสีขาว สีกลีบรองดอกสีขาว ข้าวไม่มีหาง ระแง้ถี่ ขนบนเปลือกเมล็ดสั้น และส่วนมากจะเป็นข้าวเจ้า

  22. สรุปผลการทดลอง • สำหรับลักษณะทางการเกษตร สามารถแบ่งกลุ่มพันธุ์ข้าวได้ 9 กลุ่มหลักโดย กลุ่มที่ 3 มีจำนวนสมาชิกภายในกลุ่มสูงสุด จำนวน 126 พันธุ์ สำหรับลักษณะทางการเกษตร กลุ่มพันธุ์ข้าวที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดของลักษณะ เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น ความยาวลำต้นจำนวนรวงต่อกอ น้ำหนัก 100 เมล็ดความยาวเมล็ดข้าวเปลือก และความกว้างเมล็ดข้าวเปลือก ได้แก่ กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ 8 3 17 8 8 และ 15 ตามลำดับ การจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวนั้นสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจำแนกพันธุ์ข้าว เพื่อคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์และวางแผนการปรับปรุงพันธุ์ได้รวดเร็วขึ้น ลดการซ้ำซ้อนของพันธุ์ข้าว และจัดการเชื้อพันธุกรรมข้าวให้เป็นระบบ

More Related