1 / 43

ระบบสุขภาพไทยกับ ประชาคม อาเซียน

ระบบสุขภาพไทยกับ ประชาคม อาเซียน. โรงแรม ทีเคพาเลซ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖. นพ. ศุภ กิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ปรึกษากระทรวงด้านเวชกรรมป้องกันระดับทรงคุณวุฒิ. Pretest:. ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ASEAN คือ ประเทศที่มีประชากรน้อยที่สุดใน ASEAN คือ

season
Download Presentation

ระบบสุขภาพไทยกับ ประชาคม อาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสุขภาพไทยกับประชาคมอาเซียนระบบสุขภาพไทยกับประชาคมอาเซียน โรงแรมทีเคพาเลซ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พ.บ., อ.ว., MPHM ที่ปรึกษากระทรวงด้านเวชกรรมป้องกันระดับทรงคุณวุฒิ

  2. Pretest: • ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ASEAN คือ • ประเทศที่มีประชากรน้อยที่สุดใน ASEAN คือ • ประเทศที่เป็นสมาชิก ASEAN หลังสุดคือ • ประเทศกลุ่ม CLMV คือ • ประเทศที่ยากจนมากที่สุดคือ • วิชาชีพที่ ลงนามในข้อตกลงยอมรับร่วม (MRA) แล้วทั้งหมดกี่วิชาชีพ • วิชาชีพด้านสุขภาพใดบ้างที่มีข้อตกลงยอมรับร่วมแล้ว • เป้าหมายเดิมของการเป็น AC คือปี 2020 แต่ได้กำหนดเป้าหมายให้เร็วขึ้นเป็นปีใด • การดำเนินการทางด้านสุขภาพอยู่ในเสาหลักด้านใดมากที่สุด

  3. สุขภาพโลก กับ สาธารณสุขระหว่างประเทศ Global vs International Health

  4. ประเด็นในสุขภาพโลก(1) • ภาวะคุกคามจากโรค Threats from diseases • Outbreak of pandemic diseases (SARS, H1N1, H5N1) • Changing lifestyle (higher incidence of NCDs) • Change in population structure (higher proportion of elderly  higher incidence of chronic diseases) • ภาวะโลกร้อน Climate changes • Impacts of climate changes on health (diseases, thermal stress) IHPP

  5. ประเด็นในสุขภาพโลก(2) • ผู้เล่นในเวทีสุขภาพโลก Global health actors • Actors expanded beyond the conventional health sector (civil society, international organization) • Foreign policies and health • อาหารปลอดภัยและความมั่นคงFood safety (chemical contamination, disease contamination) and food security IHPP

  6. ประเด็นในสุขภาพโลก(3) • ผลกระทบจากการค้าข้ามชาติImpacts of international trade • IPR • FTA • Migration of health workforce • Mobility of international patients • การเคลื่อนย้ายคนMobility of people • Migrants - Health of migrants along borders • Disease transmission • การอภิบาลระบบ Global health governance issues • Multiple key actors and roles of UN agencies IHPP

  7. วิเคราะห์ประเทศไทยSWOT Analysis and Global Health of Thailand IHPP

  8. Strengths (1) • ระบบสุขภาพที่เข้มแข็ง(achieving universal health coverage with better financial risk protection and more equitable access to health care) • บทบาทนำในเวทีโลก(WHO Executive Board, WHA, Global Fund, Asia Pacific Observatory, AAAH, FCTC, food safety, ASEAN FETN, etc…) • นวัตกรรมด้านนโยบาย(National Health Assembly, Thai Health, HIA, NHCO, etc…) • การเฝ้าระวังควบคุมโรคStrong and well managed disease control/management/ surveillance • ศักยภาพของบุคลากร(medical supports, medical and public health training IHPP

  9. Strengths (2) • การจัดการภัยภิบัติ Disaster management • ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ(almost 100% complete birth and death registration) • คุณภาพระบบห้องปฏิบัติการณ์ Good quality laboratory, clinical trials • การวิจัยและพัฒนา Research and development • การบริการทางการแพทย์ Good quality medical services • การแพทย์แผนไทย Thai traditional medicine • การมีส่วนร่วมของประชาชนด้านสุขภาพ (village health volunteers, self reliance on health) IHPP

  10. Weaknesses • ค่าใช้จ่ายด้านรักษาสูงกว่าส่งเสริมป้องกันHigh proportion of health expenditure on curative care, high focus on medical technology, limited resource allocation for health promotion • การกระจายบุคลากร Geographically mal – distribution of health workforce • การวิจัยและพัฒนายาและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์Limited capacity of pharmaceutical production (research and development) • การกำกับดูแลเอกชนPoor regulatory mechanism on the private sector • อ่านหนังสือน้อย Poor reading habit IHPP

  11. Opportunities (1) • การลงทุนด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นHigh government investment in the health sector (14% of total government budget in 2011) • การลงทุนจากต่างประเทศForeign investment in several sectors • การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องContinuous economic growth (immigration of labor force, higher education, job opportunity) • การเมืองระบอบประชาธิปไตย Democratic system • ความครอบคลุมของโครงสร้างพื้นฐานรวมถึงด้านสุขภาพNation-wide coverage of health infrastructure IHPP

  12. Opportunities (2) • ต่างประเทศให้ความยอมรับการสาธารณสุขไทยIncreasing international recognition (health system development, disease control, primary care, role of Thailand in global health) • ความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆIncreasing coordination between the health and non-health sectors (MOPH and other ministries, PPP) • การลงทุนด้านบุคลากรระยะยาว Long-term investment in capacity building of human resources • การร่วมสร้างนโยบายสาธารณะ Higher public participation in policy formulation and implementation (NHA) • การเกิดขึ้นของผู้เล่นใหม่ในเวทีสุขภาพโลก Emerging of new actors in global health (Global Fund, GAVI, HMN, Stop TB Partnership, etc…) IHPP

  13. Threats • ภัยพิบัติ Natural disaster • การขาดธรรมาภิบาล Poor governance (corruption, quality of politicians) • ความขัดแย้งทางการเมือง Political conflicts • ช่องว่างรายได้ Widening of the rich-poor gap • ผลด้านลบจากการค้าเสรี Negative impacts from international trade agreements • ภาระโรคที่เปลี่ยนไป Change of disease burden (health risk behaviors, higher NCD incidence) • การเปลี่ยนโครงสร้างประชากร Demographic change (higher proportion of elderly) IHPP

  14. Timor-Leste ปชก1.2 ล้าน เอกราช 1999-02

  15. Papua New Guinea ปชก6ล้าน > 800 เผ่า เอกราช 1973

  16. การค้าโลก The globalization trade • World Trade Organization (WTO) to RTAs, FTAs • 34 countries in NAFTA • 28 countries in EU • 9 countries in TPP • ASEAN + 3 • ASEAN + 6

  17. GMS: Greater Mekong Sub-region • ประกอบด้วย ไทย เวียดนาม กัมพูชา ลาว พม่า จีน (มณฑลยูนนาน) • ประชากร 250 ล้านคน 2.3 ล้าน ตร.กม. • ความร่วมมือ 9 สาขา (2550)สนับสนุนโดย ADB • คมนาคมขนส่ง • โทรคมนาคม • พลังงาน • การค้า • การลงทุน • เกษตร • สิ่งแวดล้อม • การท่องเที่ยว • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  18. EWEC : East-West Economic Corridor เส้นทางR 9 ระยะทาง1,530 kms. เมาะลำไย-เมียววดี-แม่สอด-พิษณุโลก-ขอนแก่น-มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-เว้-ดานัง

  19. NSEC : North-South Economic Corridor 1) เส้นทาง R3E : คุนหมิง – หยวนเจียง – บ่อหาน (จีน) – บ่อเต็น – ห้วยทราย (ลาว) – เชียงของ– เชียงราย – ตาก – กรุงเทพฯ (ไทย)             2) เส้นทาง R3W: เชียงตุง – ท่าขี้เหล็ก (พม่า) – แม่สาย – เชียงราย – ตาก – กรุงเทพฯ (ไทย)3) เส้นทาง R5 : คุนหมิง – หยินซ่อ– เฮียโค่ว (จีน) – ลาวไค – ฮานอย – ไฮฟอง (เวียดนาม) R5 R3W R3E

  20. ท่าเรือน้ำลึกทวาย

  21. ความแตกต่าง • ใหญ่สุด อินโดนีเซีย 1,900,000 ตร.กม. • เล็กสุด สิงคโปร์ 700 ตร.กม. • คนมากสุด อินโดนีเซีย 240 ล้านคน • คนน้อยสุด บรูไน0.4 ล้านคน • รายได้ต่อหัวสูงสุด สิงคโปร์ 46,241usd ต่อคนต่อปี • รายได้ต่อหัวต่ำสุด กัมพูชา(พม่า?) 900 usdต่อคนต่อปี • IMRดีสุด สิงคโปร์ 2.6/1000 live birth • IMRแย่สุด กัมพูชา 72/1000 live birth • ศาสนา อิสลาม พุทธ คริสต์ ไม่มีศาสนา • ภาษา ของตัวเอง อังกฤษภาษากลาง • ประวัติศาสตร์ รบกันมาตลอด

  22. เป้ามายการส่งออก ปี 2555

  23. The 4 modes • Mode 1: การให้บริการข้ามแดน Cross border • Mode 2: การบริโภคในต่างประเทศ Consumption aboard • Mode 3: การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ Commercial presence • Mode 4: การให้บริการทั่วไป Movement of natural persons Based on GATT

  24. การเคลื่อนย้ายเสรี The free flow • Goods and services • People • Finance and capital • Information, knowledge and technology

  25. ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRAs : Mutual Recognition Arrangement) • Bali Concord 2546 • วิศวกร 2548 • พยาบาล 2549 • สถาปนิก 2550 • นักสำรวจ 2550 • แพทย์ 2551(2) • ทันตแพทย์ 2551(2) • นักบัญชี 2552 • การท่องเที่ยว 2552

  26. ข้อ 1 • วัตถุประสงค์ • วัตถุประสงค์ของข้อตกลงฯ คือ: • เพื่ออำนวยความสะดวกแก่การเคลื่อนย้ายแพทย์ภายในประเทศสมาชิกอาเซียน • เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ความชำนาญเรื่องมาตรฐานและคุณสมบัติ • เพื่อส่งเสริมให้มีการสร้างแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดสำหรับการให้บริการวิชาชีพแพทย์ที่ดีที่สุด • เพื่อเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาและการฝึกฝนของแพทย์

  27. 2.7 หน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพแพทย์ (PMRA: Professional Medical Authority Regulatory) หมายถึง หน่วยงานที่ได้รับอำนาจจากรัฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิก ให้มีหน้าที่กำกับดูแลการประกอบวิชาชีพแพทย์ซึ่งมีรายชื่อที่ระบุต่อไปนี้ บรูไน ดารุสซาราม คณะกรรมการกำกับดูแลวิชาชีพแพท กัมพูชา แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข อินโดนีเซีย แพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุข ลาว กระทรวงสาธารณสุข มาเลเซีย แพทยสภา พม่าแพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุขฟิลิปปินส์ คณะกรรมาธิการด้านกฎระเบียบวิชาชีพ และคณะกรรมการกำกับดูแลวิชาชีพแพทย์ สิงคโปร์แพทยสภาและคณะกรรมการกำกับดูแล ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ไทยแพทยสภาและกระทรวงสาธารณสุขเวียดนาม กระทรวงสาธารณสุข

  28. ข้อ 3 • การยอมรับ คุณสมบัติ และสิทธิของแพทย์ต่างชาติ • 3.1 คุณสมบัติ ต้องเป็นไปตามกฎระเบียบภายในของประเทศผู้รับ ภายใต้เงื่อนไข • สำเร็จการศึกษาที่ยอมรับทั้งประเทศต้นทางและผู้รับ • ขึ้นทะเบียนในประเทศต้นทางและยังมีผล • มีประสบการณ์ในวิชาชีพไม่น้อยกว่า 5 ปี • CPD ในประเทศต้นทางเป็นที่น่าพอใจ • ได้ใบรับรองในประเทศต้นทางว่าไม่มีประวัติเสียหาย • ไม่อยู่ระหว่างการสอบสวนหรือมีคดี • คุณสมบัติอื่นที่ PMRA ของประเทศผู้รับเห็นสมควร

  29. คณะกรรมการประสานงานด้านวิชาชีพแพทย์อาเซียน • (AJCCM : ASEAN Joint Coordinating Committee on Medical Practitioner) • 6.1 ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานกำกับดูแลวิชาชีพแพทย์(PMRA) ของประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศไม่เกิน 2 คนและจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้: • อำนวยความสะดวกในการดำเนินการตามข้อตกลงฯ และการพัฒนากลยุทธ์สำหรับการดำเนินการตามข้อตกลงฯ • ส่งเสริมประเทศสมาชิกอาเซียนในการกำหนดมาตรฐานสำหรับกลไกและขั้นตอนกระบวนการต่างๆ ในการดำเนินการตามข้อตกลงฯ • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันทางด้านกฎหมาย แนวปฏิบัติ และการพัฒนาต่างๆ สำหรับการประกอบวิชาชีพแพทย์ในภูมิภาค • พัฒนากระบวนการสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างต่อเนื่อง • ทบทวนข้อตกลงยอมรับร่วมทุกๆ 5 ปี หรือเร็วกว่านั้น • กระทำการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงฯ ฉบับนี้

  30. ศักยภาพในการผลิตบุคลากรศักยภาพในการผลิตบุคลากร

  31. Medical tourism 2003 2004 2005

  32. การเปรียบเทียบข้อได้เปรียบบริการสุขภาพCompetitive advantage Competitive Advantage of private health facilities in some countries in Asia Source: Modified from Private Hospital Association and Business Council of Thailand, 2004

  33. จำนวนผู้ป่วยต่างชาติ Number of foreign patients ปัจจุบัน> 2,000,000 1,450,000 1400000 1,250,000 1200000 1 , 103 , 095 973 , 532 1000000 800000 number of foreign patients 630 , 000 550 161 , 600000 400000 200000 year 0 2001 2002 2003 2004 2005 2006 Sources: Department of Export Promotion, Ministry of Commerce

  34. Specialized Services Dental Care Medical Check-Up Medical services

  35. Thai Spa Traditional Thai Massage Long Stay Health Promotion (Wellness)

  36. Food Drug Cosmetic Food Drugs and Herbal Products

  37. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติMedical Hub ภายใต้ Country Strategy เป้าหมาย4Hubs 1) Service Hub 2) Wellness Hub 3) Academic Hub-------- > MoPH University? 4) Product Hub เป้าหมายรายได้ 5ปี 800,000ล้านบาท ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ประกอบด้วย 1) เพิ่มขีดความสามารถในการจัดบริการสุขภาพ 2) พัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้มีความเป็นเลิศ 3) ส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ 4) บริหารและขับเคลื่อนนโยบายโดยไม่เกิดผลกระทบด้านลบ ต่อระบบสุขภาพไทย

  38. Flagship Project ปี 2557

  39. Sawasdee Sukhothai Historical Park Elephant Show The Grand Palace The Southern Sea

More Related