1 / 56

แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน หายใจส่วนบน / ท้องเสีย / บาดแผลฉีกขาด

แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน หายใจส่วนบน / ท้องเสีย / บาดแผลฉีกขาด. ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย. ยาอันตราย คำเตือน 1. ห้ามใช้ในผู้ป่วยแพ้ยานี้ 2. ยานี้อาจทำให้เกิดอาการแพ้และเป็นอันตรายถึงตายได้ 3. หากเกิดอาการผื่นแดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุดยาและปรึกษาแพทย์.

sean-morrow
Download Presentation

แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน หายใจส่วนบน / ท้องเสีย / บาดแผลฉีกขาด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างแนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน หายใจส่วนบน/ท้องเสีย/บาดแผลฉีกขาด

  2. ยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตรายยาปฏิชีวนะเป็นยาอันตราย • ยาอันตราย คำเตือน 1.ห้ามใช้ในผู้ป่วยแพ้ยานี้ 2.ยานี้อาจทำให้เกิดอาการแพ้และเป็นอันตรายถึงตายได้ 3.หากเกิดอาการผื่นแดง ระคายเคืองหรือบวมให้หยุดยาและปรึกษาแพทย์

  3. Antibiotic associated colitis (AAC) • เกิดจาก Clostridium difficle toxin • อาการ: ท้องเสีย,ปวดท้อง • สาเหตุ:overgrowth ของเชื้อ Clostridium difficle • ยาที่เกิด: ampicillin,clindamycin,cephalosporin • การรักษา: Vancomycin

  4. Antibiotic associated colitis (AAC)

  5. Antibiotic associated colitis (AAC)

  6. Antibiotic associated colitis (AAC)

  7. Stevens-Johnson syndrome • เกิดจากการแพ้ยา • ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides • มีผื่นแดงทั่วร่างกายร่วมกับการอักเสบของเยื่อบุในช่องปาก,ตา • ทำให้ตาบอดได้

  8. Stevens-Johnson syndrome

  9. Toxic-epidermal necrolysis • มีการหลุดลอกของผิวหนังเป็นตุ่มพองน้ำ • ยาที่พบบ่อย: penicillin, sulfonamides • เสียชีวิตจากภาวะติดเชื้อแทรกซ้อน

  10. Toxic-epidermal necrolysis

  11. Toxic-epidermal necrolysis

  12. ANAPHYLAXIS • Rash, angioedema • Bronchospasm • Shock

  13. การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างพร่ำเพรื่อ ทำให้เชื้อดื้อยาอย่างรวดเร็ว • การดื้อยาทำให้ประชาชนทุกคนอยู่ในอันตราย

  14. Methicillin-Resistant Staphylococus aureus( MRSA ) • Penicillin-Resistant Streptococus pneumoniae ( PRSP ) • Vancomycin-Resistant Enterococci (VRE) • Extended Spectrum Beta-lactamase producing bacteria ( ESBL ) • Multidrug Resistant (MDR) Acinetobacter and Klebsiella

  15. National Antimicrobial Resistance Surveillance, Thailand ( NARST ) • Acinetobacter • 1998 : 98% susceptible to imipenem • 2006 : only 43%susceptible to imipenem • E.coli • 1999 : 90% susceptible to ceftriaxone • 2006 :only 68% susceptible to ceftriaxone • Pseudomonas aeroginosa • 1998 : 77%susceptible to ceftazidime • 2006 :only 70% susceptible to ceftazidime

  16. Mariana bridi

  17. แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลฉีกขาดแนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลฉีกขาด

  18. บาดแผลฉีกขาด • บาดแผลฉีกขาดที่ผิวหนังที่มาถึงหน่วยบริการภายใน 6 ชั่วโมง และไม่ได้เกิดจากการผ่าตัดหรือสัตว์กัด

  19. บาดแผลสะอาด(ไม่ให้ antibiotic) • บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดได้ง่าย • บาดแผลที่ไม่มีเนื้อตาย • บาดแผลที่ไม่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ภายในเช่น เศษดิน หากมีก็สามารถล้างออกได้โดยง่าย • บาดแผลที่ไม่ปนเปื้อนกับสิ่งที่มีแบคทีเรียจำนวนมากเช่น อุจจาระ, มูลสัตว์, น้ำครำ • ไม่ใช่บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน

  20. บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อได้มากกว่าปกติ(ให้ antibiotic) • บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน • บาดแผลจากการบดอัด เช่น โดนประตูหนีบอย่างแรง • แผลที่เท้า • แผลที่มีขอบหยึกหยัก • บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง, ผู้ป่วยหลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ รวมถึงผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา steroid

  21. บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อนบาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน • บาดแผลถูกวัตถุทิ่มเป็นรูซึ่งยากต่อการทำความสะอาดได้ทั่วถึง • บาดแผลซึ่งมีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง • บาดแผลซึ่งมีสิ่งสกปรกติดอยู่ในบาดแผล เช่น เศษดิน • บาดแผลที่ปนเปื้อนกับสิ่งที่มีแบคทีเรียจำนวนมากเช่น อุจจาระ, มูลสัตว์, น้ำครำ • ให้ Antibiotic= Amoxicillin/clavulonic acid

  22. หลักการให้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันการติดเชื้อของบาดแผลฉีกขาดหลักการให้ยาปฏิชีวนะในการป้องกันการติดเชื้อของบาดแผลฉีกขาด • การให้ยาปฏิชีวนะในกรณีนี้เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ จึงให้ยานานแค่ 48 ชั่วโมง • เมื่อครบ 48 ชั่วโมง หากบาดแผลมีการอักเสบให้ยาต่อไปได้

  23. ให้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสะอาดเมื่อให้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสะอาดเมื่อ • แผลที่เท้า • แผลที่มีขอบหยึกหยัก • บาดแผลจากการบดอัด • บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง, ผู้ป่วยหลอดเลือดส่วนปลายตีบ, ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ รวมถึงผู้ป่วยที่ทานยากดภูมิต้านทานเช่น ยา steroid • ยาที่ใช้คือ Dicloxacillin Dose : 250 mg qid ac × 2 วัน เด็ก : 125 mg qid ac or 25-50 mg/kg/day × 2 วัน

  24. บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อนบาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน • ให้ยาปฏิชีวนะแก่ผู้ป่วยทุกราย Amoxicillin/clavulonic acid (Augmentin) : 375 mg tid pc or 625 mg bid pc × 2 วัน เด็ก: 156 mg tid pc × 2 วัน

  25. แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคท้องร่วงเฉียบพลันแนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคท้องร่วงเฉียบพลัน

  26. โรคท้องร่วงเฉียบพลันที่สามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียได้จากอุจจาระมีเพียง 5.6 % • ยาปฏิชีวนะมีประโยชน์อย่างชัดเจนเฉพาะกรณีการติดเชื้อ Campylobacter jejuni และ Shigella เท่านั้น • ให้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยที่มีอาการต่อไปนี้ • ไข้ 38ºC ขึ้นไป และ • อุจจาระมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือตรวจพบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวในอุจจาระ

  27. ยาปฏิชีวนะที่ควรให้คือยาปฏิชีวนะที่ควรให้คือ • Norfloxacin 400 mg bid ac × 5 วัน ในเด็กให้ขนาด 15-20 mg/kg/day bid ac 5 วัน • ยาปฏิชีวนะอื่นๆเช่น Co-trimoxazole และ tetracycline มีความไวแค่ 10 % เท่านั้นจึงห้ามใช้ • ยาอื่นๆที่ใช้ได้ เช่น Activated charcoal ชนิดเม็ดทานครั้งละ 1-2 เม็ด วันละ 4 ครั้ง

  28. แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนแนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน

  29. กรณีที่ไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะกรณีที่ไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะ • ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว มีแผลในช่องปาก ถ่ายเหลว ไอมาก • โรคหวัดในระยะใกล้หายจะมีน้ำมูกเป็นสีเขียวเหลือง

  30. กรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะกรณีที่ควรให้ยาปฏิชีวนะ • มีไข้สูงร่วมกับอาการเจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ต่อมทอนซิล มีต่อมน้ำเหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก • เกิดจากการติดเชื้อ Group A Beta hemolytic Streptococcus

  31. Viral pharyngitis

More Related