1 / 12

นโยบายและแผนการสร้างความเข้มแข็ง ของเครือข่ายผู้พิการ

นโยบายและแผนการสร้างความเข้มแข็ง ของเครือข่ายผู้พิการ. ปทิดา ภาณุพิศุทธ์ 27 พฤศจิกายน 2556. กรอบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตในกลุ่มผู้พิการ ปีงบประมาณ 2557 (รพ.ศรีธัญญา). รัฐบาล. กระบวนการทำงานเพื่อสร้างระบบการดูแลผูพิการทางจิต.

Download Presentation

นโยบายและแผนการสร้างความเข้มแข็ง ของเครือข่ายผู้พิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายและแผนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้พิการนโยบายและแผนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายผู้พิการ ปทิดา ภาณุพิศุทธ์ 27 พฤศจิกายน 2556

  2. กรอบแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิตในกลุ่มผู้พิการ ปีงบประมาณ 2557 (รพ.ศรีธัญญา) รัฐบาล กระบวนการทำงานเพื่อสร้างระบบการดูแลผูพิการทางจิต T1.แนวทางการดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ฟื้นฟูระดับจังหวัด T2.แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการทางจิต ระดับจังหวัด T3.คู่มือการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการทางจิตและครอบครัว สำหรับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและผู้ช่วยเหลือผู้พิการ (อพมก.) T4.คู่มือการทำกลุ่ม Self help group สำหรับบุคลากรที่ทำงานด้านผู้พิการ ส่วนกลาง/ภูมิภาค - พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 - แผนพัฒนาชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555-2559 -กระทรวงพัฒนาสังคมฯ -กระทรวงศึกษาธิการ -สนง.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ -สนง.พัฒนาสังคมฯ จังหวัด (S1) เตรียมความพร้อมให้บุคลากรที่ดำเนินงานใน พ.ท. สามารถดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ 4 ประเภท ต.ค. 56 (งปม.7.5 แสน) (S2) พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูผู้พิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม แนวทาง 2 ฉบับ/คู่มือ 2 ฉบับ พ.ย. – ธ.ค. 56 (งปม.1.44 ล้าน) (S3) การพิทักษ์สิทธิประโยชน์สู่การรับรองสิทธิผู้พิการ (จัดทำ Delphi Consensus) ก.พ. 58 (งปม. 3 แสน) กระทรวงสธ. พื้นที่/ท้องถิ่น ยุทธฯ พัฒนาระบบบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค/การฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ทุกกลุ่มวัยให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เป้าฯร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ -รพศ./รพท./รพช. -โรงเรียน/ศูนย์การศึกษาพิเศษ -อปท. (S4) สนับสนุนชุดเครื่องมือเพื่อ การดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟู ผู้พิการแก่เครือข่ายบริการ ก.พ. – มิ.ย. 58 (งปม. 1.5 แสน/3,000 เล่ม) • (S5) • ประเมินผลการดำเนินงาน • ประเมินการพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ฟื้นฟูผู้พิการ 4 ประเภทของเครือข่ายบริการ • -ประเมินชุดเครื่องมือฯ • ส.ค. 58 • (งปม.2.4 แสน) กรมสุขภาพจิต ตัวชี้วัดระดับกิจกรรม 1.ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมีทักษะในการดำเนินงานพัฒนาทักษะทาง กายและใจ/ดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการ 4 ประเภท 2. องค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูผู้พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมระดับจังหวัด มีการนำไปใช้ประโยชน์ • กรมสุขภาพจิต • ผู้รับผิดชอบหลัก • -ส.ราชานุกูล • -สน.พัฒนาสุขภาพจิต • -รพ.ศรีธัญญา • หน่วยร่วม • -ศูนย์สุขภาพจิต • -รพ./ส.ในสังกัดกรม • อัตราการเข้าถึงบริการของผู้พิการทางจิตยังมีน้อย • เป้าฯร้อยละ 80 ของผู้พิการทาง • จิตใจ/สติปัญญา/การเรียนรู้/ออทิสติก ได้รับการพัฒนาทักษะทางกาย/ใจฯ และเข้าถึงบริการ งปม. = 2.88 ล้านบาท

  3. ด้านนโยบาย

  4. รัฐบาล • พรบ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 - เป็นกฎหมายคนพิการที่ได้ชื่อว่าเป็นกฎหมายแม่บทหลักในการทำงานด้านคนพิการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มีความ เสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” - แผนพัฒนาชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555-2559

  5. กระทรวงสาธารณสุข • ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค/การฟื้นฟูสมรรถภาพทุกกลุ่มวัย ให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง • ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาทักษะ ทางกายและใจ

  6. กรมสุขภาพจิต • ผู้พิการทางจิตใจ/สติปัญญา/การเรียนรู้/ออทิสติก ได้รับการพัฒนาทักษะทางกาย/ใจ และเข้าถึงบริการ • อัตราการเข้าถึงบริการของผู้พิการทางจิตยังมีน้อย • เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของผู้พิการทางจิต (ปี 55 – 59)

  7. ด้านการพัฒนาระบบงาน

  8. พัฒนาในประเด็นสำคัญ • เตรียมความพร้อมให้บุคลากรที่ดำเนินงานในพื้นที่ให้สามารถดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ • พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูผู้พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม • การพิทักษ์สิทธิประโยชน์สู่การรับรองสิทธิผู้พิการ • สนับสนุนชุดเครื่องมือเพื่อการดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการแก่เครือข่ายบริการ • ประเมินผลการดำเนินงาน • ประเมินการพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ฟื้นฟูผู้พิการ • ประเมินชุดเครื่องมือ

  9. ผลลัพธ์โครงการ

  10. เครื่องมือ • แนวทางการดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ การฟื้นฟูผู้พิการทางจิต • แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือ การฟื้นฟูผู้พิการทางจิต • คู่มือการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการทางจิตและครอบครัว สำหรับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและผู้ช่วยเหลือผู้พิการ (อพมก.) • คู่มือการทำกลุ่ม Self help group สำหรับบุคลากรที่ทำงานด้านผู้พิการ

  11. ตัวชี้วัดระดับกิจกรรมตัวชี้วัดระดับกิจกรรม • ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมีทักษะในการดำเนินงานพัฒนาทักษะทางกายและใจ/ดูแลช่วยเหลือ/ฟื้นฟูผู้พิการ • องค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูผู้พิการทางจิตใจหรือพฤติกรรมระดับจังหวัด มีการนำไปใช้ประโยชน์

  12. สวัสดีค่ะ

More Related