1 / 45

บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ

การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีตามบทเฉพาะกาล( 1 เม.ย.และ 1 ต.ค. 2552) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ที่ นร 1012/ว5 ลว 27 ก.พ. 2552) 24 มี.ค. 2552. บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ. บริหาร. อำนวยการ. วิชาการ. ทั่วไป. กำหนดแบบช่วง/ 4 บัญชี.

Download Presentation

บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปีตามบทเฉพาะกาล( 1 เม.ย.และ 1 ต.ค. 2552) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ที่ นร 1012/ว5 ลว 27 ก.พ. 2552) 24 มี.ค. 2552

  2. บัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯบัญชีเงินเดือนท้ายพระราชบัญญัติฯ บริหาร อำนวยการ วิชาการ ทั่วไป กำหนดแบบช่วง/ 4 บัญชี

  3. บริหารอำนวยการ สูงวิชาการ ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญทั่วไป ทักษะพิเศษ อำนวยการ ต้นวิชาการ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ ทั่วไป อาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน

  4. ท9 ท7-ท8 ท5-ท6 ท1-ท4

  5. ท10-ท11 ท9 ท8 ท6-ท7 ท3-ท5

  6. ท10,ท11,บ11 ท9-ท10 ท9 ท8

  7. 22,220 22,220 (890*) 22,220 (1,780*) 22,220 (2,230*) 12,820 13,110 13,400 13,690 8,770 8,320 8,540 8,990 8,890 8,320 8,500 8,700 7,360 7,170 6,970 6,800 6,970 7,170 7,360 ง/ด ฐาน 0.5 ขั้น 1 ขั้น 1.5 ขั้น ง/ด ขั้นสูงสุด   C 3 12,920 13,160 13,390 13,630    C 4 12,850 13,100 13,360 13,620 C 5 C 4    C 3 2.5 ขั้นเงินเดือน 2.0 1.5 1.0 ง/ด ขั้นต่ำสุด

  8. หลักเกณฑ์/เงื่อนไขอื่น ๆ • รอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา • ลาศึกษา/ฝึกอบรม : ต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน จึงเลื่อนเงินเดือนได้ ยกเว้น ลาศึกษา/ฝึกอบรมตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำหนด • ผู้ไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ : เมื่อกลับมาปฏิบัติงานให้ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือนในอัตราตามที่ ก.พ. กำหนด • เสียชีวิต : ทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน ให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันก่อนเสียชีวิต • เกษียณอายุราชการ เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย.

  9. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขอื่น ๆ • ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน • ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร • ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด • ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท / คลอดบุตร / ป่วยจำเป็น / ป่วยประสบอันตราย / พักผ่อน / ตรวจเลือก/เตรียมพล / ทำงานองค์การระหว่างประเทศ

  10. จัดสรรโควตาให้สำนักและกองต่าง ๆ ดังนี้ • ข้าราชการ • 1. จัดสรรให้สำนัก / กองส่วนกลาง ในอัตราร้อยละ 12 • 2. จัดสรรให้สำนักชลประทานที่ 1-17 ในอัตราร้อยละ 11.5 • ลูกจ้างประจำ • 1. จัดสรรให้สำนัก / กองส่วนกลาง ในอัตราร้อยละ 13 • 2. จัดสรรให้สำนักชลประทานที่ 1-17 ในอัตราร้อยละ 12.5

  11. จัดสรรโควตากรณีพิเศษ 1 ขั้น • ผู้ปฏิบัติงานในเขตพื้นที่พิเศษ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) • 1. ข้าราชการ จัดสรรโควตาเพิ่มอีกร้อยละ 8.5 • 2. ลูกจ้างประจำ จัดสรรโควตาเพิ่มอีกร้อยละ 7.5 • ผู้ปฏิบัติงานในเขตพื้นที่พิเศษจังหวัดสงขลาใน 5 อำเภอ (นาทวี จะนะ สะบ้าย้อย เทพา และสะเดา) • 1. ข้าราชการ จัดสรรโควตาเพิ่มอีกร้อยละ 8.5 • 2. ลูกจ้างประจำ จัดสรรโควตาเพิ่มอีกร้อยละ 7.5

  12. แนวทางการเสนอขอพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนแนวทางการเสนอขอพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน 1. สำนักชลประทานที่ 1-17 ให้แยกออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนวิศวกรรมบริหาร ส่วนจัดสรรน้ำ และบำรุงรักษา ส่วนเครื่องจักรกล โครงการชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา ส่วนที่ 2 ส่วนปฏิบัติการและโครงการก่อสร้าง 2. สำนักและกองต่างๆ นอกเหนือจากตามข้อ 1 ให้เสนอในภาพรวมของสำนักและกองนั้นๆ

  13. การเลื่อนเงินเดือนประจำปีการเลื่อนเงินเดือนประจำปี ยกเลิกโควตา 15% ประเมินผลงานประจำปี เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของค่ากลาง ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน 6% ของค่ากลาง งบประมาณ/ครึ่งปี : 3% ของเงินเดือนทุกคนในส่วนราชการ • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน 6 % /ผลงานระดับที่ลดหลั่นลงมาให้ อิสระแต่ละส่วนราชการกำหนดเอง • กำหนดค่ากลาง 2 ค่า ในแต่ละระดับ • ไม่บังคับกำหนดสัดส่วนจำนวนคนแต่ละระดับ (Force Distribution) • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละของค่ากลาง ปีละ 2 ครั้ง/ไม่น้อยกว่า 5 ระดับ การพิจารณา : ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานระดับดีมาก/ดีเด่น : แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล

  14. การประเมินผลงาน (ระบบปัจจุบัน) กับ การเลื่อนเงินเดือน (ระบบใหม่) ขั้นสูง ขั้นสูง 2 ขั้น 1.5 ขั้น 1 ขั้น 0.5 ขั้น ไม่เลื่อน ค่ากลางบน  ค่ากลางล่าง  ขั้นต่ำ ขั้นต่ำ

  15. ตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณ * ส่วนราชการสามารถปรับสัดส่วนร้อยละให้เหมาะสมได้

  16. การจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือนการจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือน ระบบปัจจุบัน ระบบใหม่ ปัจจุบัน ส่วนกลาง:ปลัดฯ/อธิบดี ส่วนกลาง วิชาการ/ทั่วไป 9 ขึ้นไป 8 ลงมา อำนวยการ ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค : ผู้ว่าฯ บริหาร 20

  17. ถาม-ตอบ ว5 ปี 2552 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ ณ 1 เม.ย. และ 1 ต.ค. 2552

  18. ถาม การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญ ณ 1 เมษายน และ 1 ตุลาคม 2552 จะเลื่อนเงินเดือน อย่างไร?

  19. ตอบ ให้เลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ. 2544 ออกตามพระราชบัญญัติระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 (พ.ร.บ.ฯ 2535) โดยมีการจัดทำตารางการเลื่อนเงินเดือนชั่วคราว อิงขั้นเงินเดือนในบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการที่ใช้อยู่เดิม

  20. ถาม ทำไมจึงยังไม่เลื่อนเงินเดือนเป็นอัตราร้อยละของฐานในการคำนวณหรือค่ากลาง (Midpoint)?

  21. ตอบ เนื่องจากกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน และหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการที่ต้องออกตามความในมาตรา 74 และ 76 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 (พ.ร.บ.ฯ 2551) ยังไม่แล้วเสร็จ ประกอบกับเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องใหมและละเอียดอ่อน เกี่ยวข้องกับรายได้และทางก้าวหน้าในชีวิตราชการของข้าราชการทุกคน จึงต้องใช้เวลาในการซักซ้อม ทำความเข้าใจในแนวปฏิบัติ และให้เวลา ส่วนราชการในการเตรียมตัวปรับเข้าสู่ระบบใหม่

  22. ถาม ทำไมจึงยังต้องใช้กฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2544?

  23. ตอบ เพื่อให้เป็นไปตามความในวรรคแรกของมาตรา 132 แห่ง พ.ร.บ.ฯ 2551 ที่บัญญัติว่า “ในระหว่างที่ยัง . . . ไม่ออกกฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือระเบียบหรือกำหนดกรณีใด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ นี้ให้นำ . . . กฎ ก.พ. ข้อบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กำหนดไว้แล้ว ซึ่งใช้อยู่เดิม มาบังคับใช้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้

  24. ถาม ทำไมจึงต้องยุ่งยากทำตารางการเลื่อนเงินเดือนชั่วคราวขึ้นมาใหม่?

  25. ตอบ เนื่องจากบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการเดิมที่แบ่งกระบอกเงินเดือนตามระดับตำแหน่งหรือซี และมีขั้นเงินเดือนเป็นขั้นวิ่ง ถูกยกเลิกไปพร้อมกับระดับตำแหน่งร่วม (ซี หรือ Common Level) แล้ว ประกอบกับบัญชีเงินเดือนใหม่จำแนกบัญชีตามประเภทตำแหน่ง เป็นบัญชีแบบช่วงเงินเดือนที่ไม่มีขั้นวิ่ง การนำกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเดือน พ.ศ. 2544 มาใช้ จึงมีประเด็นที่ขัดหรือแย้งกับ พ.ร.บ.ฯ 2551 คือ จะเลื่อนเงินเดือนเป็นขั้นในบัญชีเงินเดือนแบบภายในระบบจำแนกตำแหน่งใหม่อย่างไร ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามความในวรรคสองของมาตรา 132 แห่ง พ.ร.บ.ฯ 2551 ที่บัญญัติว่า “ในกรณีที่ไม่อาจนำ . . . กฎ ก.พ.ข้อบังคับ หรือระเบียบหรือกรณีที่กำหนดไว้แล้วมาใช้บังคับได้ตามวรรคหนึ่ง การจะดำเนินการประการใดให้เป็นไปตามที่ ก.พ.กำหนด” ก.พ. จึงได้มีมติให้จัดทำตารางการเลื่อนเงินเดือนชั่วคราวสำหรับข้าราชการพลเรือนสามัญตามประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่งใหม่ ขึ้น

  26. ถาม การจัดทำตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ มีหลักการอะไร?

  27. ตอบ หลักการ คือ ให้ผู้ได้รับการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน “ครึ่งขั้น” “หนึ่งขั้น” หรือ “หนึ่งขั้นครึ่ง” แล้วแต่กรณี ได้รับการเลื่อนเงินเดือนเป็นจำนวนเงินไม่น้อยกว่าเดิม

  28. ถาม การจัดทำตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ มีวิธีการอย่างไร?

  29. ตอบ ใชเม็ดเงินในบัญชี อัตราเงินเดือนข้าราชการเดิม มาจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือน ยกเวน กรณีที่ไมมีเม็ดเงินในบัญชีฯ เดิมโดยมีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ 1. จําแนกตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ ตามประเภทและระดับตําแหน่งใหม รวม 14 ตาราง ไดแก ตารางฯ สําหรับตําแหนง (1) ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน (2) ประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน (3) ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (กลุมไมใช สายงานชาง) (4) ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (กลุมสายงานชาง) (5) ประเภททั่ วไป ระดับทักษะพิเศษ (6) ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (7) ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ (8) ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ (9) ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ (10) ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ (11) ประเภท อํานวยการ ระดับตน (12) ประเภทอํานวยการ ระดับสูง (13) ประเภทบริหาร ระดับตน และ (14) ประเภทบริหาร ระดับสูง

  30. 2.นําเม็ดเงินจากอันดับเงินเดือนตาง ๆ ในบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการเดิมตามที่ขาราชการพลเรือนสามัญอยูกอน สําหรับแตละระดับตําแหนง มารวบรวมไว้ดวยกัน ตามประเภทและระดับตําแหนงใหม เชน • ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน จะเป็นการรวบเม็ดเงินจากอันดับ ท1 - ท4 เดิม มารวมไวดวยกัน • ตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการ จะเปนการรวบเม็ดเงินจากอันดับ ท6 – ท7 เดิม มารวมไวดวยกัน • ตําแหนงประเภทอํานวยการ ระดับตน จะเปนการรวบเม็ดเงินอันดับ ท8 เปนตน 3. หลังจากนั้น นําเม็ดเงินที่รวบรวมไวสําหรับแตละประเภทและระดับตําแหน่งมาทําเปนตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ 4 ชอง ไดแก ชองเงินเดือนฐาน ชองเลื่อน 0.5 ขั้น ชองเลื่อน 1.0 ขั้น และชองเลื่อน 1.5 ขั้น โดยมีวิธีการนําเม็ดเงินมาวางไว ดังนี้ (ขอแสดงตัวอยางเฉพาะตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ และแสดงเพียง 3 ชองเทานั้น คือ ไมรวมชองเลื่อน 1.5 ขั้น ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการอธิบาย)

  31. รูปที่ 1 : แสดงการจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ สําหรับตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ

  32. คําอธิบาย : ตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ เปนการรวบตําแหนงระดับ 6 และระดับ 7 เดิมที่ไดรับเงินเดือนในอันดับ ท6 และ ท7 มาไวดวยกัน ดังนั้น ในการจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ จึงดําเนินการ ดังนี้ (ก) ชองเงินเดือนฐาน เอาเม็ดเงินของ ท6 และ ท7 มาวางไว โดยเรียงลําดับมาจากมากลงไปนอย (ข) ชองเลื่อน 0.5 ขั้น ในกรณีที่เงินเดือนฐานเปนเม็ดเงินของ ท6 ก็เอาเม็ดเงินของ ท6 ที่สูงขึ้น “ครึ่งขั้น” ถัดไป มาวางไวในแถวเดียวกับเงินเดือนฐาน ในกรณีที่เงินเดือนฐานเปนเม็ดเงินของ ท7 ก็เอาเม็ดเงินของ ท7 ที่ สูงขึ้น “ครึ่งขั้น” ถัดไป มาวางไวในแถวเดียวกับเงินเดือนฐาน (ค) ชองเลื่อน 1.0 ขั้น ในกรณีที่เงินเดือนฐานเปนเม็ดเงินของ ท6 ก็เอาเม็ดเงินของ ท6 ที่สูงขึ้น “หนึ่งขั้น” ถัดไป มาวางไวในแถวเดียวกับเงินเดือนฐาน ในกรณีที่เงินเดือนฐานเปนเม็ดเงินของ ท7 ก็ เอาเม็ดเงินของ ท7 ที่สูงขึ้น “หนึ่งขั้น” ถัดไป มาวางไวในแถวเดียวกับเงินเดือนฐาน (ง) ชองเลื่อน 1.5 ขั้น (ไมไดแสดงในรูป) ก็ดําเนินการในทํานองเดียวกับ (ข) และ (ค)

  33. ถาม ในกรณีที่เม็ดเงินเดือนฐานเทากันแต่มาจากอันดับเงินเดือนที่ตางกัน เชน เงินเดือน 8,320 บาท เป็นเม็ดเงินในอันดับ ท3 ของซี 3 และ ท4 ของซี 4 ซึ่งในระบบจําแนกตําแหนงใหมตางก็อยูในตําแหนงประเภทและระดับเดียวกัน คือ วิชาการปฏิบัติการ จะไดเลื่อนเงินเดือนเปนเม็ดเงินที่ ตางกัน ใชหรือไม เพราะเม็ดเงิน 0.5 ขั้น 1.0 ขั้น และ 1.5 ขั้นที่สูงขึ้น ของ ท3 และ ท4 ในบัญชีอัตราเงินเดือนขาราชการเดิม ไมเทากัน?

  34. ตอบ เนื่องจากภายใตระบบจําแนกตําแหนงใหม แม้เดิมจะดํารงตําแหนงในระดับ (ซี) ที่ตางกัน แตเมื่อถูกจัดอยูในตําแหนงประเภทเดียวกัน ระดับเดียวกัน ถือวาดํารงตําแหนงในระดับที่เทากัน ดังนั้น เมื่อเงินเดือนฐานเทากัน แมเดิมจะมาเม็ดเงินเดือนของอันดับเงินเดือนที่ตางกัน (ท3 และ ท4) ชองเลื่อน 0.5 ขั้น ชองเลื่อน 1.0 ขั้น และชองเลื่อน 1.5 ขั้น จะเทากันโดยจะใชเม็ดเงินที่สูงกวาแทน ดังรูป รูปที่ 2 : แสดงการจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ สําหรับตําแหนง ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการในกรณีที่เม็ดเงินเดือนฐานเทากัน แตมาจากอันดับเงินเดือนเดิมที่ตางกัน

  35. สรุป คนซึ่งดํารงตําแหนงประเภทเดียวกัน ระดับเดียวกัน เงินเดือน เทากัน เมื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนที่เทากัน (0.5 ขั้น 1.0 ขั้น หรือ 1.5 ขั้น แลวแตกรณี) แลว จะไดรับเงินเดือนใหมที่เทากัน

  36. ถาม การเลื่อนเงินเดือนตามตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ จะเกิดกรณีที่คนสองคนอยูในตําแหนงประเภทเดียวกัน ระดับเดียวกัน คนหนึ่งเคยไดรับเงินเดือนที่สูงกวาในอันดับเงินเดือน (ซี) หนึ่ง เมื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนที่ เทากันแลว กลับไดรับเงินเดือนต่ำากวาอีกคนหนึ่ง ซึ่งเคยไดรับ เงินเดือนต่ำกวาในอีกอันดับเงินเดือน (ซี) หนึ่ง หรือไม?

  37. ตอบ ไมเกิด เพราะในการจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ สําหรับตําแหนงประเภทเดียวกัน ระดับเดียวกัน หากพบวา มีกรณีที่เม็ดเงินเดือนฐานสูงกวา แตชองเลื่อน 0.5 ขั้น ชองเลื่อน 1.0 ขั้น หรือชองเลื่อน 1.5 ขั้น ของเม็ดเงินเดือนนั้น กลับมีเม็ดเงินที่ต่ำกวาชองเดียวกันของเม็ดเงินเดือนในแถวที่ต่ำกวา ก็จะปรับใหไดรับเงินเดือนเทากัน โดยนําเม็ดเงินที่สูงกวามาใช ดังรูป รูปที่ 3 : แสดงการจัดทําตารางการเลื่อนเงินเดือนฯ สําหรับตําแหนง ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการในกรณีที่เม็ดเงินเดือนฐานสูงกวา แตเมื่อเลื่อนแลว ไดเงินเดือนต่ำกวา

  38. ถาม การจัดสรรโควตาผู้ได้รับการเลื่อน 1 ขั้น (ไม่เกินร้อยละ 15 ของจำนวนข้าราชการ) และการจัดสรรวงเงินเลื่อนขั้น ซึ่งเดิมแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่ม ระดับ 1-8 และกลุ่มระดับ 9 ขึ้นไป สำหรับการเลื่อนเงินเดือนในวันที่ 1 เมษายน 52 นี้จะเป็นอย่างไร

  39. ตอบ • อิงระบบเดิม โดยกำหนดเป็น 2 กลุ่มเทียบเคียงกับระดับตำแหน่งเดิม คือ • กลุ่มที่ 1 (ระดับ 1-8 เดิม) ได้แก่ ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ระดับต้น ตำแหน่ง • ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ และตำแหน่งประเภททั่วไป • ระดับปฏิบัติงาน ชำนาญการ และอาวุโส • กลุ่มที่ 2 (ระดับ9 ขึ้นไปเดิม) ได้แก่ ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ • ระดับสูง ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ และทรงคุณวุฒิ และตำแหน่งประเภททั่วไป • ระดับทักษะพิเศษ

More Related