1 / 28

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา. โดย. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รองศาสตราจารย์ ดร.ดนัย บุณยเกียรติ. รองคณบดีฝ่ายวิชาการ 27 มกราคม 2549. การตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย.

sasha-owens
Download Presentation

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.ดนัย บุณยเกียรติ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ27 มกราคม 2549

  2. การตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยได้วางแผนให้มีการตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2544

  3. วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบและประเมินวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบและประเมิน • ตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของทุกหน่วยงานวิชาการตามรายการตรวจสอบคุณภาพและแนวทางการประเมินของมหาวิทยาลัย • เสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อให้การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานวิชาการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

  4. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิน ขั้นตอนการเตรียมการตรวจสอบและประเมิน • สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษาส่งรายชื่อผู้ตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้หน่วยงานวิชาการพิจารณาและเสนอกลับมาจำนวน 10 – 15 คน พร้อมกับรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในด้านการประกันคุณภาพการศึกษา จำนวน 5 คน

  5. สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษาทาบทามผู้ตรวจสอบและประเมินระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานเสนอมาให้ได้จำนวนเหมาะสม เสนอมหาวิทยาลัยแต่งตั้งและแจ้งให้หน่วยงานทราบ • สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษาจัดทำร่างกำหนดการตรวจสอบและประเมินฯ ส่งให้หน่วยงานพิจารณาและให้แจ้งกลับ เพื่อให้หน่วยงานเตรียมดำเนินการและให้กรรมการรับทราบ

  6. หน่วยงานส่งรายงานการประเมินตนเองในรูปเล่มให้มหาวิทยาลัย อย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนวันตรวจสอบ จำนวนเท่ากับคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิน และให้สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษาจำนวน 1 เล่ม พร้อมทั้งส่งรายงานการประเมินตนเองในรูปไฟล์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งบันทึกเป็นแผ่น Diskette หรือส่งไฟล์ข้อมูลทาง E-mail : qacmu@chiangmai.ac.th

  7. มหาวิทยาลัยรับผิดชอบงบประมาณค่าเดินทางและค่าที่พักของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกส่วนหน่วยงานรับผิดชอบค่าตอบแทนคณะกรรมการฯ ตามประกาศมหาวิทยาลัยฉบับที่ 4/2546 ลง วันที่ 21 มกราคม 2546

  8. เกณฑ์การตรวจสอบและประเมินเกณฑ์การตรวจสอบและประเมิน • ตรวจสอบและตัดสินว่าแต่ละหน่วยงานวิชาการได้ดำเนินการครบทุกองค์ประกอบของคุณภาพตามแนวทางที่กำหนดในรายการตรวจสอบระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่า “มี” หรือ “ไม่มี”

  9. เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์การพิจารณาตามรายละเอียดดังนี้.- 2.1 ระดับการการพัฒนาคุณภาพและแนวทางการประเมิน ซึ่งผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3/2545 วันที่ 30 พฤษภาคม 2545

  10. ระดับ คุณภาพ แนวทางการประเมิน มีการกำหนดแผน (P) มีการดำเนินการตามแผน (D) มีการประเมินการดำเนินงาน (C) และมีหลักฐานแสดง 3 มีการกำหนดแผน (P) มีการดำเนินการตามแผน (D) มีการประเมินการดำเนินงาน (C) และมีการปรับปรุงแผน (A) ครบตามวงจร PDCA มีหลักฐานแสดงชัดเจนแต่ครบถ้วนเป็นส่วนน้อย(<25%) 4

  11. หมายเหตุ :สำหรับหัวข้อย่อยที่รายการตรวจสอบ (Checklist) ไม่ได้จัดเรียงตามวงจร Plan-Do-Check-Act (PDCA) ให้ถือว่า หากมีการดำเนินการครบตามรายการตรวจสอบที่กำหนดไว้ตามแต่ละหัวข้อย่อย และมีหลักฐานแสดงสามารถจัดอยู่ในระดับ 4-6 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความครบถ้วนของหลักฐาน หากตัวบ่งชี้ในหัวข้อย่อยเหล่านั้น แสดงการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น สามารถจัดอยู่ในระดับ 7-8 ตามเกณฑ์ที่สอดคล้อง

  12. 2.2ตัวคูณของระดับการพัฒนาระดับ 0 = 0.0 ระดับ 4 = 0.6ระดับ 1 = 0.1 ระดับ 5 = 0.7ระดับ 2 = 0.3 ระดับ 6 = 0.8ระดับ 3 = 0.5 ระดับ 7 = 0.9ระดับ 8 = 1.0

  13. 2.3การให้คะแนนคุณภาพระบบการให้คะแนนคุณภาพคิดจากคะแนนรวม 100 คะแนน มหาวิทยาลัยได้ให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบแตกต่างกันตามความสำคัญของภารกิจ ดังนี้.- • องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ นโยบาย กลยุทธ์และแผน 5 คะแนน

  14. องค์ประกอบที่ 2การเรียนการสอน 30 คะแนน • องค์ประกอบที่ 3การพัฒนา และ สนับสนุนนักศึกษา 10 คะแนน • องค์ประกอบที่ 4การวิจัย 20 คะแนน • องค์ประกอบที่ 5กาบริการวิชาการแก่ ชุมชน 20 คะแนน

  15. องค์ประกอบที่ 6การทำนุบำรุงศิลป- วัฒน ธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 5 คะแนน • องค์ประกอบที่ 7การบริหารและการจัดการ 10 คะแนน • องค์ประกอบที่ 8การเงินและงบประมาณ 5 คะแนน • องค์ประกอบที่ 9ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ 5 คะแนน

  16. 1.4ผลการประเมิน คะแนนรวมที่แต่ละหน่วยงานได้รับสะท้อนภาพรวมของระดับการพัฒนาคุณภาพโดยการจัดแบ่งระดับคุณภาพตามคะแนนรวม ดังนี้ 90 = ดีเลิศ (excellent) 80 - 89 = ดีมาก (very good) 80 - 79 = ดี (good) <60 = ต้องปรับปรุงแก้ไข (poor)

  17. 2.5ตัวบ่งชี้คุณภาพ (Key Quality Indicators, KQI) สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 56 ตัว ประกอบด้วยดัชนีบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จำนวน 28 ตัว และมหาวิทยาลัยได้พัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 28 ตัว

  18. วิธีการตรวจสอบและประเมินวิธีการตรวจสอบและประเมิน 1.1 การตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินฯ ประชุมร่วมกันพิจารณารายการตรวจสอบในแต่ละองค์ประกอบว่า มี หรือ ไม่มี ซึ่งกรณีตรวจสอบแล้วว่า มี กรรมการต้องเสนอว่ามีเอกสาร หลักฐานมากน้อยเพียงใด จาก 0 – 100% ส่วนกรณีไม่พบเอกสาร หลักฐานใช้วิธีการสัมภาษณ์/ สอบถามผู้บริหารคณะ ภาควิชา อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

  19. 1.2 การประเมินการประเมินผลพิจารณาจากรายการตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้ระดับการพัฒนาคุณภาพ แนวทางการประเมิน และตัวบ่งชี้คุณภาพ (Key Quality Indicatiors, KQI) สำหรับการประเมินคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และให้ระดับการประเมินเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้

  20. 1. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินฯ ไปตรวจ เยี่ยมหน่วยงานตามกำหนดการตรวจสอบ และ ประเมินฯ ที่ได้นัดหมายไว้ ขั้นตอนการตรวจสอบ และประเมินของคณะกรรมการ 2. คณบดี/ ผู้อำนวยการนำเสนอข้อมูลสถานภาพและ การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของ หน่วยงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินฯ

  21. 3. ศึกษาเอกสาร หลักฐาน และฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องกับรายงานการประเมินตนเอง 4. ตรวจเยี่ยมภาควิชา หน่วยงาน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติ การ/ ฝึกปฏิบัติ ศูนย์/ หน่วยวิจัย และทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับภารกิจของหน่วยงาน 5. หาข้อมูลเพิ่มเติมโดยการสัมภาษณ์ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง

  22. 6. ประชุมสรุปผลการตรวจสอบและประเมินฯ รวมทั้งให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ทั้งที่เป็น ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงาน และมหาวิทยาลัย 7. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินฯ 8. นำเสนอผลการตรวจสอบและประเมินแก่ผู้บริหาร กรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของหน่วยงาน คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และผู้สนใจ

  23. 9. ส่งรายงานผลการตรวจสอบและประเมินฯ ให้ สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อเสนอ มหาวิทยาลัย คณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพแต่ละชุด และกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

  24. 1. รายการตรวจสอบคุณภาพ จำนวน 149 รายการ สำหรับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการ ศึกษาของทุกหน่วยงานวิชาการ รายการตรวจสอบและตัวบ่งชี้คุณภาพ 2. รายการตรวจสอบคุณภาพสำหรับการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาของบัณฑิต วิทยาลัย

  25. 3. ตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) จำนวน 56 ตัวของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4. ตัวบ่งชี้คุณภาพ (KQI) ของบัณฑิตวิทยาลัย

More Related