1 / 17

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ

โรคอ้วน. โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร . พ . กรุงเทพพัทยา. เกณฑ์สำหรับภาวะอ้วนสำหรับชาวเอเชีย ( WHO). ประเภท ดัชนีมวลกาย ( kg/m2 ) ความเสี่ยง น้ำหนักน้อยกว่า - น้อยกว่า 18.5 มาตรฐาน

sani
Download Presentation

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคอ้วน โดยแพทย์หญิงมยุราเทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวานร.พ.กรุงเทพพัทยา

  2. เกณฑ์สำหรับภาวะอ้วนสำหรับชาวเอเชีย(WHO)เกณฑ์สำหรับภาวะอ้วนสำหรับชาวเอเชีย(WHO) ประเภท ดัชนีมวลกาย( kg/m2)ความเสี่ยง น้ำหนักน้อยกว่า- น้อยกว่า 18.5 มาตรฐาน เกณฑ์ปกติ18.5-22.9 ปานกลาง น้ำหนักเกิน น้อยกว่า23 อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง23-24.9 เพิ่มขึ้น ระดับอ้วน I 25-29.9 ปานกลาง ระดับอ้วนII น้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 รุนแรง

  3. โรคที่สัมพันธ์กับโรคอ้วนโรคที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน • สัมพันธ์กับขนาดเซลล์ไขมันสัมพันธ์กับมวลไขมัน • -โรคเบาหวาน / กลุ่มโรคเมตะบอลิค - ข้อเสื่อม • -โรคถุงน้ำดี - ภาวะหยุดหายใจเป็นช่วงเวลา • --โรคหลอดเลือด( CVD ) หลับ( OSA ) • -โรคมะเร็ง -ลูคีเมีย2เท่า • - มะเร็งมดลูก3เท่า • - หลอดอาหาร3.5เท่า • - ลำไส้ใหญ่5เท่า • -โรคไขมันแทรกที่ตับ

  4. วิธีที่ใช้ประเมินวัดความอ้วนวิธีที่ใช้ประเมินวัดความอ้วน • รอบเอวหรืออัตราส่วนระหว่างรอบเอว : สะโพก • DXAเครื่องวัดความหนาแน่นของกระดูก ข้อเสีย-ราคาแพง , ไม่สามารถใช้กับคนน้ำหนักมากกว่า 150Kg.ได้ • Bioelectrical Impedance Analysisวัดความต้านทาน ระหว่างจุด 2 จุด เช่น แขนและขา หรือเท้าและแขน • วิธีการอื่นๆ ในการประเมินการกระจายตัวของไขมันในบริเวณใดบริเวณหนึ่งโดยCT scanหรือMRI

  5. การรักษาโรคอ้วน สมดุลพลังงานเป็นลบ ทำให้น้ำหนักลด... - ควบคุมอาหาร - ออกำลังกาย - การป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มกลับมา เป้าหมาย - 5-10%จากน้ำหนักตัวเริ่มแรก - ถ้าพลังงานเป็นลบประมาณ500 Kcal /วัน น้ำหนักจะลดลงประมาณ0.5 Kg /สัปดาห์ *ไม่แนะนำให้ลดเกิน0.5-1 Kg /สัปดาห์

  6. ปริมาณพลังงานที่ใช้ในระหว่างพัก ( Resting energy expenditure, Ree) ผู้หญิง= (10 xนน. (Kg) + ( 6.25 xส่วนสูง (ซม.) - ( 5 X อายุปี) - 161 ผู้ชาย= (10 xนน.(Kg) + (6.25 xส่วนสูง (ซม.) • - ( 5 xอายุปี ) +5 • ปริมาณพลังงานที่ใช้ทั้งหมดต่อวัน (TEE ) = REE + 20 - 30% ของREE

  7. ชนิดของอาหารแบ่งตามปริมาณแคลอรี่ต่อวันชนิดของอาหารแบ่งตามปริมาณแคลอรี่ต่อวัน • อาหารที่ปรับสมดุล( Balanadefiut diet).... เช่น CHO : โปรตีน : ไขมัน = 40 : 30 : 30 • อาหารพลังงานน้อย( Low calorie diet )…. 800-1,500 Kcal /วันเช่น ไดเอทด้วยอาหารเร่งผอมเช่นซุป ,พาสต้า,มิลค์เชค200-500แคลอรี่ / มื้อ ลดได้0.4-1.2kg./สัปดาห์ • อาหารพลังงานน้อยมาก( VLCD )<800 Kcal/วัน เช่น ไดเอทด้วยเกรฟฟรุต,หรือไฟเบอร์ ลดได้1.2-2.3Kg/สัปดาห์ *ถ้าทานอาหารน้อยกว่า 1,200Kcal/วันควรได้รับวิตามินแร่ธาตุเสริมด้วย

  8. ชนิดของอาหารแบ่งตามส่วนประกอบชนิดของอาหารแบ่งตามส่วนประกอบ • อาหารไขมันต่ำ • อาหารไขมันสูง , โปรตีนสูงและคาร์โบไฮเดรตต่ำ (< 20 gm/วัน) เช่น Atkin’ diet , Protein Power • อาหารไขมันปานกลาง , คาร์โบไฮเดรตสูงโปรตีนปานกลางเช่นUSDA food guide pyramid, DASH - dietary approch to stop hypertention เป็นต้น

  9. การไดเอทด้วยวิธีอื่นๆ...การไดเอทด้วยวิธีอื่นๆ... • ทำดีท็อกซ์ • Dr. Willium Hayกินอาหารเป็นส่วนๆในแต่ละมื้อ , Dr.Sears : Enter the zone • มาร์โคไปโอติค - หลีกเลี่ยงอาหารปรุงสุก , เคี้ยว50 ครั้งก่อนกลืน • กินตามกรุ๊ปเลือด • กินซุปกระหล่ำปลี

  10. อาหารชนิดใดดีกว่าสำหรับการลดน้ำหนักอาหารชนิดใดดีกว่าสำหรับการลดน้ำหนัก • คาร์โบไฮเดรตต่ำ - DPPป้องกันการเกิดเบาหวานได้ • อาหารไขมันต่ำ ( 30% ) - กลุ่มที่ได้อาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำ ( VLCD ) ลดน้ำหนักได้มากกว่ากลุ่มจำกัดแคลอรี่ ( ไขมัน 30% ) 5.8vs 1.9 kgในเวลา 6 เดือน

  11. อาหารแบบปิรามิด 10% ไขมัน และน้ำตาล เนื้อและปลา 15 % ผลิตภัณฑ์จากนม 15 % 30 %ผักและผลไม้ ข้าว , แป้ง , ก๋วยเตี๋ยว 30 % แสดงถึงสัดส่วนอาหารที่สร้างสมดุลและเป็นผลดีต่อสุขภาพ

  12. การออกกำลังกาย • ไม่มีเวลา ? • ออกกำลังกายเป็นช่วงๆ ( Intermittent ) - 30 นาที 1 ครั้ง - 15 นาที 2 ครั้ง - 10 นาที 3 ครั้ง - 10 นาที 1 ครั้ง + 20 นาที 1 ครั้ง ( รวม 150 นาที ต่อ สัปดาห์ )

  13. Salon Treatment ?สถาบันเสริมความงาม - Wrap - Massage - Electrical Current • ครีมสลิมมิ่ง • Skin Brushingกำจัด cellulite? • Slimming Tightด้วยคาเฟอีน

  14. ปริมาณการเผาผลาญพลังงานจากกิจกรรมต่างๆปริมาณการเผาผลาญพลังงานจากกิจกรรมต่างๆ กิจกรรม Kcal /นาที อ่านหนังสือ 1.3 อาบน้ำ แต่งตัว 2.6 รีดผ้า 4.2 กอล์ฟ 3.7 - 5.0 เดิน (20นาที / ไมล์) 5.0 ว่ายน้ำ (ไม่แข่งขัน) 6.0 เต้นรำบอลลูน 7.0 วิ่ง (12นาที / ไมล์) 10.0 วิ่ง (5นาที / ไมล์) 20.0 ปั่นจักรยาน (5-15 ไมล์ต่อชั่วโมง) 5 - 12

  15. การช้ยารักษาโรคอ้วน ข้อบ่งชี้ - ดัชนีมวลกาย > 27 มียาเพียง 2 ชนิดที่อนุญาตให้ใช้ในระยะยาว - Oristat <Xenical> - Sibutramine *ไม่มียาตัวใดทำให้น้ำหนักลดลงได้มากกว่า 4 กิโลกรัม โดยไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม น้ำหนักที่ลดลงจะเริ่มคงที่หลัง 6 เดือนแรก Phentermin ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนานเกิน 3 เดือน Rimonabantลดน้ำหนักและช่วยอดบุหรี่โดยไม่เพิ่มน้ำหนัก

  16. ยาที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของไขมันในร่างกายยาที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของไขมันในร่างกาย ยาจิตเวช - ยาต้านโรคจิต Phenolhiazine,Haldol - Lithium -ยาต้านซึมเศร้า ยากันชัก - Gabapeutin,Valproale,Parbama zepine ยาสเตียรอยด์ ยารักษาเบาหวาน - ชนิดรับประทาน และอินซูลิน แอนตี้ฮิสตามีน ไซโปรเฮปตาดีน ยาลดความดันโลหิต - เบต้าและอัลฟา - 1 บลอคเกอร์ ยารักษาโรคเอดส์ - กลุ่ม Protease Inhibitor

  17. THANK YOU คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

More Related