1 / 21

Early Man

นโยบายการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดย ณรงค์ เนตรสาริกา 29 มกราคม 2553 ณ โรงแรมลาพาโลมา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. Early Man. สถานการณ์ปัญหา โรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม.

Download Presentation

Early Man

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายการดำเนินงานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมโดยณรงค์ เนตรสาริกา29 มกราคม 2553ณ โรงแรมลาพาโลมา อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

  2. Early Man

  3. สถานการณ์ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมสถานการณ์ปัญหาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

  4. จำนวนประชากรของประเทศ ปี 2550= 71 ล้านคนประกอบด้วยผู้มีงานทำ 36 ล้านคน (ร้อยละ 53) ผู้ไม่มีงานทำ 0.6 ล้านคน (ร้อยละ 1) - ภาคเกษตรกรรม 15.12 ล้านคน (ร้อยละ 42) - ภาคอุตสาหกรรม และ ภาคบริการ 20.88 ล้านคน (ร้อยละ 57)

  5. เงื่อนไขการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาเงื่อนไขการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 1. ขนาดของปัญหา 2. ความรุนแรงของปัญหา 3. ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา 4. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานทั้งภาครัฐและประชาชนในการ แก้ไขปัญหา 5. การให้ความสำคัญของประชาชนในการแก้ไขปัญหา

  6. ภาคเกษตรกรรม - จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 15.12 ล้านคน (42%) ของ ประชากรวัยแรงงานที่มีงานทำ - อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช = 4.11 ราย อัตราตาย = 0.02 รายต่อแสนประชากร (อันดับ 1 ของโรคจากการประกอบอาชีพ) - ผู้เสี่ยงและไม่ปลอดภัยจากการใช้สารเคมีกลุ่มออร์กาโน- ฟอสเฟตและคาร์บาเมต 29.4%

  7. ผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม กำลังเป็นปัญหา - สารเคมีรั่วไหลที่คลองเตย ผู้เสี่ยง 105 ราย - ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่แม่เมาะ จ.ลำปาง ผู้เสี่ยง 3,000 คน - การปนเปื้อนของแคดเมียม อ.แม่สอด จ.ตาก ผู้เสี่ยง 6,802 คน - การปนเปื้อนสารตะกั่วที่ห้วยคลิตี้ จ.กาญจนบุรี ผู้เสี่ยง 5,000 ราย

  8. - สารโคบอลต์ 60 จ.สมุทรปราการ ผู้เสี่ยง 200 ราย - สารหนูปนเปื้อน อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ผู้เสี่ยง 28,000 ราย - ภัยพิบัติต่างๆ อาจจะเกิดปัญหา - เหมืองโปแตช จ.อุดรธานี ผู้เสี่ยง 30,000 ราย - โครงการขนาดใหญ่ - สารหนูปนเปื้อนในน้ำดื่ม 6 จังหวัด (น่าน สงขลา ตาก สุพรรณบุรี ราชบุรี ยะลา)

  9. ภาคอุตสาหกรรม - กลุ่มเป้าหมาย : ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการขนาดกลาง และขนาดเล็กที่สัมผัสสารตะกั่ว ฝุ่นหินทราย และเสียงดัง - ผู้ป่วยโรคปอดจากฝุ่น (Pneumoconiosis)138 ราย จากผู้เสี่ยงและ ไม่ปลอดภัย 217,057 ราย ในสถานประกอบกิจการ 7,732 แห่ง -ผู้ป่วยโรคพิษตะกั่ว 33 ราย จากผู้เสี่ยงและไม่ปลอดภัย 280,050 ราย ในสถานประกอบกิจการ 2,124 แห่ง - ผู้ป่วยโรคประสาทหูเสื่อม ยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่พบผู้เสี่ยง และไม่ปลอดภัย 116,462 ราย ในสถานประกอบกิจการ 1,839 แห่ง

  10. ภาคบริการ : บุคลากรผู้ให้บริการใน รพศ. รพท. และ รพช. - เป้าหมาย : เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และสาธารณสุข 106,459 คน พื้นที่เป้าหมาย : รพศ. รพท. รพช. 819 แห่ง - ปัญหาอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล : * ปัญหาสิ่งคุกคามต่อสุขภาพของบุคลากรในรพ.  ด้านชีวภาพ (การติดเชื้อจากสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย) , ด้านกายภาพ (เสียง แสงสว่าง ความร้อน การสั่นสะเทือน ฝุ่น) , ด้านเคมี (น้ำยาฆ่าเชื้อ ก๊าซดมยา สารตะกั่ว) , ด้านจิตสังคม ท่าทางการทำงาน และอุบัติเหตุจากการ ทำงาน - สถานบริการ : โรงแรม,ร้านอาหาร ฯลฯ

  11. ลำดับปัญหาสำคัญ 1. ภาคเกษตรกรรม - เกษตรกรกลุ่มเพาะปลูกจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2. สิ่งแวดล้อม - ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางสิ่งแวดล้อม 3. ภาคอุตสาหกรรม - ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่สัมผัสกับสารตะกั่ว ฝุ่นหินทราย เสียงดังและการบาดเจ็บ 4. ภาคบริการ - บุคลากรผู้ให้บริการใน รพศ./รพท./รพช. - ผู้ทำงานและผู้ให้บริการในสถานบันเทิงประเภทดิสโก้เทคและคาราโอเกะ

  12. กลุ่มแรงงานนอกระบบ

  13. แรงงานนอกระบบ ข้อมูลการสำรวจปี 2550 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ผู้มีงานทำในแรงงานนอกระบบมีจำนวน 23.28ล้านคน • ภาคการเกษตรกรรมและประมงจำนวน 14.39ล้านคน (61.79%) • นอกภาคเกษตรกรรมมีจำนวน 8.89 ล้านคน (38.21% )

  14. การส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพ การจัดบริการด้านสุขภาพ ระบบบันทึกข้อมูล ทางสุขภาพ ประสานหน่วยงานภายนอก ช่วยเหลือเมื่อเกิดอุบัติภัย การเฝ้าระวังโรค

  15. รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย1รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย1 1.การให้บริการในสถานประกอบการ สถานที่ทำงาน 2.การจัดทีมงานเข้าไปให้บริการในสถานประกอบการ สถานที่ทำงาน 3.การให้บริการที่จำกัดเฉพาะประเภท หรือลักษณะของการทำงาน เช่น อุตสาหกรรมการก่อสร้าง การเกษตร ธนาคาร ฯลฯ

  16. รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย2รูปแบบของงานบริการอาชีวอนามัย2 4.การให้บริการโดยแผนกผู้ป่วยนอกของสถานบริการสุขภาพ (OPD) 5.ศูนย์บริการอาชีวอนามัยของเอกชน 6.ศูนย์บริการสาธารณสุขของหน่วยงานท้องถิ่นต่าง ๆ 7.บริการประกันสังคม

  17. มาตรฐาน และเกณฑ์ชี้วัด กิจกรรมที่ต้องการสำหรับสถานบริการสุขภาพ • ด้านบริหารจัดการ • ด้านวิชาการ • ด้านรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ • ด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค • ด้านบุคลากร

  18. ภาคบริการ กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรผู้ให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข โอกาสในการแก้ปัญหา ข้อพิจารณา ศักยภาพหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สปสช. - กรมอนามัย - กรมสนับสนุนบริการ - รพ.นพรัตน์ฯ - สสจ. - กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม 1. พัฒนาระบบการจัดบริการอาชีวอนามัย 2. ผลักดันแนวทางการปฏิบัติงานกับระบบพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน 3. วิจัยเชิงการบริหารโครงการต้นทุนต่อหน่วยงาน 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ความร่วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัย - สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย 1. การพัฒนาระบบอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านแพทย์อาชีวเวชศาสตร์

  19. บทบาทเครือข่าย สำนักฯ ส.ค.ร. หน่วยงานอื่น NGO. ด้านนโยบาย - ผลักดันแนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรรพ.ให้อยู่ใน HA -สนับสนุนข้อมูลการตรวจ สุขภาพตามความเสี่ยง - การให้เงินทดแทนการให้ภูมิคุ้มกัน ด้านบริหารยุทธศาสตร์ - พัฒนาศักยภาพทีมงาน - ผลักดันให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญ - จัดให้มีเวทีวิชาการ การดำเนินงานด้านวิชาการ- พัฒนาระบบรายงาน - พัฒนาคู่มือ - ให้คำปรึกษาตามเกณฑ์ มาตรฐานระบบคุณภาพ ด้านนโยบาย - สนับสนุนข้อมูลประกอบ ด้านบริหารยุทธศาสตร์ - พัฒนาระบบนิเทศเพื่อสนับสนุน งาน รพ. ด้านวิชาการ - สนับสนุนวิชาการด้านการเฝ้าระวังโรค/ภัย - พัฒนาระบบข้อมูลสถานการณ์ปัญหา ระดับเขต - สนับสนุน/ร่วมทำงาน การประสานสนับสนุน - สร้างเครือข่ายการดำเนินงานระหว่างรพ.ระดับเขต • ศูนย์อาชีวเวชศาสตร์ รพ. นพรัตน์ฯ •สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ รพ. - ผลักดันแนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรใน รพ. ให้อยู่ใน HA - จัดอบรมความรู้แก่ทีมงาน – ปรับปรุงมาตรฐานด้านอาชีวอนามัย •กองวิศวกรรมความปลอดภัยใน รพ. - เป็นที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยใน รพ. - พัฒนาข้อมูลด้านอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ ของบุคลากร รพ. - เป็นศูนย์เครือข่ายด้านความรู้อุปกรณ์ เครื่องมือการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม การทำงานใน รพ. • สสจ,.รพ - สนับสนุนด้านวิชาการและร่วมประเมินผล,ติดตามการดำเนินงาน • สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย - จัดอบรมให้ทีมงานรพ. - ประสานกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพ รพ. เพื่อสนับสนุนการพัฒนางานฯ ในรพ. • ชมรมพยาบาลอาชีวอนามัยและสภาพยาบาล - จัดทำหลักสูตรพยาบาลอาชีว อนามัย - จัดอบรมตามเกณฑ์ HA

  20. ขอบคุณ

More Related