1 / 24

การสร้างเฟรม( Frame ) ด้วยภาษา HTML

การสร้างเฟรม( Frame ) ด้วยภาษา HTML. คำสั่งกำหนดเฟรม. ใช้ Tag <FRAMSET>…</FRAMESET> กำหนดให้ Browser แสดงผลแบบเฟรม กำหนดขนาดของเฟรม ใช้ attributes 2 ตัวคือ ROWS และ COLS ROWS เป็น attribute แบ่งเฟรมตามแนวนอนตามค่า ที่กำหนด ROWS = “ lists”

Download Presentation

การสร้างเฟรม( Frame ) ด้วยภาษา HTML

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเฟรม(Frame)ด้วยภาษา HTML

  2. คำสั่งกำหนดเฟรม • ใช้ Tag <FRAMSET>…</FRAMESET> กำหนดให้ Browser แสดงผลแบบเฟรม • กำหนดขนาดของเฟรม ใช้ attributes 2 ตัวคือ ROWS และ COLS • ROWS เป็น attribute แบ่งเฟรมตามแนวนอนตามค่า ที่กำหนด ROWS = “lists” • COLS เป็น attribute แบ่งเฟรมตามแนวตั้งตามค่า ที่กำหนด COLS = “lists” • Lists เป็นชุดค่าตัวเลขที่ใช้กำหนดขนาดให้กับเฟรมตามแนวนอนหรือแนวตั้ง ถ้ามีหลายค่าจะคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค

  3. การแบ่งจอภาพ • เป็นการแบ่งจอภาพเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนมีข้อมูลและการทำงานที่เป็นอิสระจากกัน • การสร้างเฟรม มีคำสั่งที่ใช้ร่วมกันอยู่ 3 คำสั่ง ดังนี้ • สามารถสร้างเฟรมซ้อนภายใน <FRAMESET> ได้ หรืออาจจะมี แท็ก <FRAME> หรือ <NOFRAME> อยู่ภายในได้ • ในเอกสาร HTML ที่มีการใช้แท็ก <FRAMESET> แล้วจะไม่มี แท็ก <BODY>

  4. ตัวอย่าง <HTML> <HEAD> <TITLE> This is frame Demo </TITLE> </HEAD> <FRAMESET> </FRAMESET> </HTML>

  5. การกำหนดขนาดของเฟรม • การกำหนดค่าของ lists มีวิธีกำหนด 3 แบบคือ 1. กำหนดค่าด้วย pixel ต้องดูความละเอียดของจอภาพที่ใช้ (640 x 480 หรือ 1024 x 768 ) <FRAMESET ROWS = “200, 140, 100”> <FRAMESET COLS = “200, 200,150 “> 2. กำหนดค่าด้วยหน่วยเปอร์เซ็นต์ <FRAMESET ROWS = “25%, 25%, 50%”> <FRAMESET COLS = “60%,40%”>

  6. การกำหนดขนาดของเฟรม(2) 3. กำหนดโดยใช้ความสัมพันธ์ของแต่ละเฟรม ใช้เครื่องหมาย * เป็นตัวกำหนด • <FRAMESET ROWS = “40%, *”> แบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวนอน ส่วนบนสูง 40% ของเนื้อที่ทั้งหมด และส่วนล่างใข้เนื้อที่ ๆเหลือทั้งหมด • <FRAMESET COLS = “60,80, *”> แบ่งจอภาพเป็น 3 ส่วน ส่วนซ้ายกว้าง 60 pixel ส่วนกลางกว้าง 80 pixel และส่วนขวาใช้เนื้อที่ที่เหลือทั้งหมด

  7. Tag <FRAME> • เป็นแท็กที่ใส่ระหว่างแท็ก <FRAMESET>…</FRAMESET> ใช้สำหรับใส่ชื่อเอกสารหรือรูปภาพไว้ในส่วนของจอภาพที่แบ่งไว้ด้วยแท็ก<FRAMESET> • มีรูปแบบดังนี้ • <FRAME SRC = “URL” NAME = “windows_name” • MARGINWIDTH=value1 • MARGINHEIGHT = value2 • SCROLLING=choice NORESIZE • FRAMEBORSER=choice2 • FRAMESPACING=value2>

  8. Attribute ของ <FRAME> • SRC= “url” บอกถึงไฟล์รูปภาพ หรือไฟล์ HTMLที่ต้องการแสดงในเฟรม • NAME = “windows_name” ตั้งชื่อให้กับเฟรม เพื่อนำไฟล์รูปภาพหรือไฟล์เอกสารอื่นๆ มาแสดง • MARGINWIDTH กำหนดช่องว่างทางซ้ายและขวาระหว่างข้อมูลและเฟรม • MARGINHEIGHT กำหนดช่องว่างด้านบนและล่างระหว่างข้อมูลและเฟรม • SCROLLING =“YES/NO/AUTO” ใช้กำหนดให้เฟรมมี Scrollbar หรือไม่มี (auto browser เป็นตัวกำหนด) • FRAMEBORDER กำหนดให้ browser สร้างกรอบให้กับเฟรม • FRAMEBORDER = 0 ซ่อนเส้นกรอบเฟรม • ปกติค่า default ของกรอบเฟรมเป็น 5 • FRAMESPACING กำหนดระยะห่างระหว่างเฟรม • NORESIZE กำหนดไม่ให้ผู้ใช้เปลี่ยนแปลงขนาดเฟรมในขณะที่ใช้งาน

  9. ตัวอย่างการแบ่งเฟรม <HTML> <HEAD> <TITLE> Using frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET ROWS=“30%,40%,30%”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web1.html”> <FRAME NAME=“frame2” SRC=“web2.html”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web3.html”> </FRAMESET> </HTML>

  10. ตัวอย่างการแบ่งเฟรมให้มีขนาดแน่นอนตัวอย่างการแบ่งเฟรมให้มีขนาดแน่นอน <HTML> <HEAD> <TITLE> Using frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET ROWS=“30%,40%,30%”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web1.html” NORESIZE> <FRAME NAME=“frame2” SRC=“web2.html” NORESIZE > <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web3.html” NORESIZE > </FRAMESET> </HTML> Computer and Internet (310101)

  11. การกำหนดแถบเลื่อนในเฟรมการกำหนดแถบเลื่อนในเฟรม • โดยปกติเฟรมที่มีพื้นที่ไม่เพียงพอสำหรับแสดงเนื้อหา จะมีแถบเลื่อนเพื่อให้ผู้ใช้เลื่อนดูข้อมูลในส่วนที่เหลือได้ • ถ้าไม่ต้องการให้แสดงแถบเลื่อนจะต้องกำหนดแอตทริบิวต์ SCROLLING=“NO” ใน <FRAME>

  12. ตัวอย่างการใช้แถบเลื่อนในเฟรมตัวอย่างการใช้แถบเลื่อนในเฟรม <HTML> <HEAD> <TITLE> Using frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET ROWS=“30%,*”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web1.html” NORESIZE> <FRAME NAME=“frame3” SRC=“web3.html” SCROLLING=“NO” > </FRAMESET> </HTML>

  13. การสร้างเฟรมซ้อน • แต่ละคอลัมน์สามารถแบ่งเป็นแถวและแต่ละแถวสามารถแบ่งเป็นคอลัมน์ได้เช่นกัน • ตัวอย่าง แบ่งจอภาพเป็น 2 เฟรมตามแนวดิ่งขนาด 40% และ60% โดย เฟรมแรกแบ่งตามแนวนอนเป็น 2 เฟรม โดยเฟรมแรกสูง 30% และส่วนที่เหลือสูง 70% <FRAMESET COLS = “40%, *”> ... <FRAMESET ROWS = “30%, 70%”> ... </FRAMESET> </FRAMESET>

  14. ตัวอย่างการสร้างเฟรมซ้อน 1 <HTML> <HEAD> <TITLE> Using nested frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET COLS=“30%,*”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web1.html”> <FRAMESET ROWS=“40%,*”> <FRAME NAME=“frame2” SRC=“web2.html”> <FRAME NAME=“frame3” SRC=“web3.html”> </FRAMESET> </FRAMESET> </HTML>

  15. ตัวอย่างการสร้างเฟรมซ้อน 2 <HTML> <HEAD> <TITLE> Using nested frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET ROWS=“30%,*”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“web1.html”> <FRAMESET COLS=“20%,*”> <FRAME NAME=“frame2” SRC=“web2.html”> <FRAME NAME=“frame3” SRC=“web3.html”> </FRAMESET> </FRAMESET> </HTML>

  16. tag <NOFRAME>…</NOFRAME> • ใช้กำหนดส่วนของเอกสารที่จะให้แสดงโดย browser ที่ไม่สามารถแสดงเฟรมได้ มีรูปแบบดังนี้ • ถ้ามีการใช้เฟรมควรใส่ส่วน <NOFRAME> ไว้เสมอเพื่อให้ผู้ใช้ที่ใช้ browser ที่ไม่สามารถแสดงเฟรมได้ ใช้ได้ตามปกติเหมือนไม่มีเฟรม <NOFRAME>…</NOFRAME>

  17. การเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กันในเฟรมการเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กันในเฟรม • Targeting Frame เป็นการส่งเอกสารไปแสดงในเฟรมอื่น โดยเฟรมเป้าหมายต้องมีการตั้งชื่อสำหรับอ้างอิง • ระบุเฟรมเป้าหมายในแท็ก anchor • กำหนดbase (default) target ให้กับทุก Link ที่ไม่ได้ระบุชื่อ target ด้วยคำสั่ง <A HREF = “page1.html” TARGET = “ชื่อเฟรมเป้าหมาย”> <BASE TARGET = “ชื่อเฟรมเป้าหมาย”>

  18. การเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กันในเฟรม(2)การเชื่อมโยงให้สัมพันธ์กันในเฟรม(2) • ถ้าไม่มีชื่อเฟรมในวินโดว์ที่เปิดอยู่ browser จะเปิดวินโดว์ใหม่ให้โดยถือว่าเป็นวินโดว์ลูก • ชื่อเฉพาะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเอกสารระหว่างเอกสารปัจจุบันกับเอกสารอื่น _blank โหลด link นี้ไปที่หน้าจอที่บราวเซอร์เปิดหน้าต่างใหม่ _self โหลด link นี้ทับเฟรมที่กำลังถูกใช้งานอยู่ _parent โหลด link นี้ทับพื้นที่ของทุกเฟรมที่ถูกกำหนด ภายใต้แท็ก<FRAMESET> เดียวกันกับเฟรม ที่กำลังถูกใช้งานอยู่ _top โหลด link นี้ไปยังพื้นที่ทั้งหมดของหน้าจอบราวเซอร์ ปัจจุบัน • ตัวอย่าง <A HREF = “mypage.html” TARGET= “_parent”>

  19. ตัวอย่าง <HTML> <HEAD> <TITLE> Using nested frame demo</TITLE> </HEAD> <FRAMESET COLS=“30%,*”> <FRAME NAME=“frame1” SRC=“toc.html”> <FRAME NAME=“main” SRC=“first.html”> </FRAMESET> </HTML>

  20. ตัวอย่าง แฟ้ม toc.html <HTML> <HEAD> <TITLE> Table of Content</TITLE> </HEAD> <BODY> <B>เวบไซต์ที่สนใจ</B>Click mouse เพื่อไปยังเวบไซต์ที่ต้องการ<BR> <A HREF=“http://www.yahoo.com” TARGET=“main”>Yahoo Search</A><BR> <A HREF=“http://www.sanook.com” TARGET=“main”>SANOOK</A><BR> <A HREF=“http://www.srw.ac.th” TARGET=“main”>Sriboonruangwittayakarn School</A> <BR> </BODY> </HTML>

  21. ตัวอย่าง แฟ้ม first.html <HTML> <HEAD> <TITLE> first file Content</TITLE> </HEAD> <BODY> <H1>หน้าจอแรก</H1> <H2>ห้องเรียนสีขาว</H2> <H2>ชมรมคอมพิวเตอร์</H2> <H3>โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร</H3> </BODY> </HTML>

  22. HELPING SEARCH ENGINES FIND YOUR WEBSITE • สามารกำหนดแท็ก <META> เพื่อใช้จัดทำ index เอาไว้สำหรับให้ Search Engine ต่างๆเช่น Infoseek, AltaVista ค้นหาข้อมูลจาก index ได้ • แท็กที่ใช้สร้างคือ Meta Tag มีรูปแบบดังนี้ • ต้องเขียนแท็ก <META>ไว้ภายในแท็ก <HEAD>…</HEAD> เสมอ • <META NAME=“description” • CONTENT=“ คำบรรยายทีแสดงว่าโฮมเพจเราเป็นอย่างไร?”> • <META NAME=“Key word” • CONTENT=“key1, key2, key3,…”>

  23. HELPING SEARCH ENGINES FIND YOUR WEBSITE (2) • DESCRIPTION เป็นส่วนที่ใช้สรุปย่อถึงการอธิบายเว็บเพจ • KEYWORD เป็นรายการของคีย์เวิร์ดที่เราคาดว่าผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมจะค้นหาเว็บไซต์ • ตัวอย่าง <META NAME=“description” CONTENT=“ How to promote website.”> <META NAME=“Key word” CONTENT=“announcing website, web submittion, Burapha University, Eastern Seaboard”>

  24. HELPING SEARCH ENGINES FIND YOUR WEBSITE (3) • ใน Infoseek จะใช้ชื่อ title ของเว็บเพจเป็นการค้นหาอันดับแรก • ใน yahoo จะใช้ title ของเว็บเพจพร้อมทั้ง description ในการค้นหา • ใน Excite จะค้นหาจากแท็ก Comment และเนื้อหาของเว็บเพจ สรุป ต้องจัดทำคีย์เวิร์ดไว้ในแท็ก TITLE, META และ COMMENT

More Related