1 / 94

งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์ อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ กรมอนามัย

11 Steps of Breast Feeding. งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์ อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ กรมอนามัย. 11 steps to successful breastfeeding. Step 1. มีนโยบายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประกาศ/ติดไว้ตามคลินิกที่เกี่ยวข้อง ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งที่สนับสนุนอาหารทดแทนนมแม่ ขวดนม หัวนมหลอก.

sagira
Download Presentation

งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์ อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ กรมอนามัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 11 Steps of Breast Feeding งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ กรมอนามัย

  2. 11 steps to successful breastfeeding Step 1. มีนโยบายส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • ประกาศ/ติดไว้ตามคลินิกที่เกี่ยวข้อง • ไม่มีโปสเตอร์หรือสิ่งที่สนับสนุนอาหารทดแทนนมแม่ ขวดนม หัวนมหลอก

  3. 11 steps to successful breastfeeding Step 2. การอบรม เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • เจ้าหน้าที่ ในคลินิกที่เกี่ยวข้อง ทำงานมาแล้วตั้งแต่ 6 เดือน • ผ่านการอบรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 20 ชม.

  4. 11 steps to successful breastfeeding Step 3. ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบเกี่ยวกับ ประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

  5. Prenatal education • ประกอบด้วย • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อ motivate แม่ให้ BF • ให้ความรู้เกี่ยวกับ BF management เพื่อให้เกิดทักษะความชำนาญ และความมั่นใจ • ตรวจเต้านมและเตรียมหัวนม

  6. Full breastfeeding at 6 mos. by type of ANC and parity in Santiago, Chile Intervention I ( Steps 1-3+5-10 ) Intervention II ( Steps 1-3+5-10 + prenatal group education ) Adapted from : Pugin E et al(1996)

  7. 11 steps to successful breastfeeding Step 4. Help mothers initiate breastfeeding within a half-hour of birth. ช่วยแม่ สามารถให้นมลูก ภายใน ครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมงหลังคลอด

  8. BREASTFEEDING BABY’S CHOICE เริ่มแรกอย่างมีพลัง

  9. แม่ คือสิ่งแวดล้อมที่สำคัญและจำเป็นสำหรับลูก ทำให้ลูกสงบและอบอุ่น ก่อนเริ่มต้นดูดนมแม่ Correct habitat - Uterus Correct habitat - Mother Niche-BF

  10. NB feeding sequence • สัญชาตญาณเพื่อความอยู่รอด • อาศัยการทำงานของหลายระบบ พร้อม ๆ กัน • เริ่มจากใช้สายตาจ้องหัวนมที่มีสีเข้มพร้อมกับแลบลิ้น คืบคลานสู่เต้า • อ้าปาก หันหน้า ควานหา ผงกหัว การให้นมขวด ตั้งแต่แรกเกิด จะทำลายสัญชาตญาณและวงจรการเรียนรู้การดูดนมแม่ การดูดกระตุ้นหัวนมและลานนม แม้ไม่ถูกต้องในชั่วโมงแรกหลังเกิด แต่มีพลังสูงมากในการกระตุ้นเซลล์ประสาทสมอง

  11. SEPARATION FROM MOTHER PROTEST-DESPAIR RESPONSE

  12. New interpretation of Step 4 in the revised BFHI Global Criteria (2006): “Place babies in skin-to-skin contact with their mothers immediately following birth for at least an hour and encourage mothers to recognize when their babies are ready to breastfeed, offering help if needed.”

  13. Early initiation of breastfeeding for the normal newbornWhy? • ระยะเวลาการดูดนมแม่นานขึ้น • การมีผิวหนังสัมผัสแม่ลูก ทำให้ลูกได้รับความอบอุ่นโดยตรงผ่านทางผิวหนังแม่สู่ลูกป้องกันภาวะตัวเย็น • colonization of baby with maternal organisms • ได้ colostrum เป็นวัคซีนหยดแรกๆของชีวิต • ลูกตื่นตัวดีที่สุดในชั่วโมงแรกหลังเกิด • เรียนรู้การดูดนมอย่างมีประสิทธิภาพได้เร็วกว่า • เป็นการเริ่มต้นของการพัฒนาการที่ดีกว่า

  14. Impact on breastfeeding duration of early infant-mother contact Early contact: 15-20 min suckling and skin-to-skin contact within first hour after delivery Control: No contact within first hour Adapted from: DeChateau P, Wiberg B. Long term effect on mother-infant behavior of extra contact during the first hour postpartum. Acta Peadiatr, 1977, 66:145-151. Slide 4.4.5

  15. Effect of delivery room practices on early breastfeeding 63%P<0.001 21%P<0.001 Adapted from: Righard L, Alade O. Effect of delivery room routines on success of first breastfeed .Lancet, 1990, 336:1105-1107. Slide 4.4.8

  16. Risk of neonatal mortality according to time of initiation of breastfeeding Six times more risk of death Pediatrics 2006;117:380-386

  17. ทุกครั้งที่มีการดูดนมแม่ จะมีการกระตุ้น การหลั่งฮอร์โมนมีผลให้ แม่ รู้สึกผ่อนคลาย สงบ ลดความเจ็บปวด ส่งเสริมสัญชาติญาณของความเป็นแม่ แม่รักลูก ส่งเสริมวงจรกระตุ้นให้น้ำนมมาเร็ว เกิดการขยายตัวของเส้นเลือดบริเวณหน้าอกแม่ ทำให้หน้าอกแม่อบอุ่นขึ้น ช่วยในการบีบตัวของมดลูก รกคลอดง่าย ไม่ค้างในตัวแม่ ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด Oxytocin ออกฤทธิ์ดีที่สุดใน 45 นาทีแรก

  18. Protein composition of human colostrum and mature breast milk (per litre) From: Worthington-Roberts B, Williams SR.Nutrition in Pregnancy and Lactation, 5th ed. St. Louis, MO, Times Mirror/Mosby College Publishing, p. 350, 1993. Slide 4.4.7

  19. จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? • จัดห้องคลอดให้มีอุณหภูมิอบอุ่น เหมาะสม (ไม่ต่ำกว่า 25 องศา) • อนุญาตให้สามีหรือญาติ เข้าไปให้กำลังใจแม่ในห้องคลอด • หลีกเลี่ยงการใช้ยาลดการเจ็บปวดในระยะคลอด เจ้าหน้าที่หรือญาติช่วยลดการเจ็บปวดของแม่ด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การนวด การอาบน้ำอุ่น การให้แม่ลุกเดินไปมาได้

  20. จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? • อนุญาตให้แม่คลอดในท่าที่ถนัดได้ • หลังเกิดทันที เจ้าหน้าที่ดูดเสมหะ ดูดน้ำคร่ำ ในคอเด็ก อย่างระมัดระวัง นุ่มนวล ป้องกัน ความบอบช้ำในการกลืนกิน • ใช้ผ้าอุ่นเช็ดตัวเด็กให้แห้ง (ไม่ต้องเช็ดไขออก )

  21. จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? • ตรวจร่างกาย เบื้องต้น ประเมินคะแนนแอบการ์ ถ้าเด็กปกติ ให้ลูกอยู่กับแม่โดยวางเด็กบนอกแม่ ให้ผิวหนังลูกได้สัมผัสผิวหนังแม่ เนื้อแนบเนื้อ แล้วใช้ผ่าห่มคลุมบนตัวทั้งแม่และลูก

  22. จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? • ลูกจะพยายามเข้าหาเต้านมแม่ เจ้าหน้าที่ให้กำลังใจแม่ ช่วย แม่กระตุ้นลูกได้ดูดนมแม่เร็ว โดยการโอบกอดลูกให้กระชับและให้ปากลูกใกล้หัวนมแม่ • ให้ลูกอยู่กับแม่เนื้อแนบเนื้อ จนกระทั่งดูดนมแม่ครั้งแรกได้สำเร็จในห้องคลอด และนานเท่าที่แม่ต้องการ • แม่ที่คลอดโดยการผ่าตัด ก็ควรให้ลูกได้อยู่กับแม่เนื้อแนบเนื้อหลังลูกเกิดเช่นเดียวกัน

  23. จะเริ่มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 1 ชั่วโมงแรกในห้องคลอดได้อย่างไร ? • การหยอดตา ชั่งน้ำหนัก วัดสัดส่วน ต่างๆ ให้รอหลัง เด็กได้อยู่กับแม่ เนื้อแนบเนื้อ ได้ดูดนมแม่ ใน ชั่วโมงแรกให้เสร็จก่อน • การอาบน้ำเด็ก ควรทำหลังเด็กเกิด แล้วไม่ต่ำกว่า 6 ชั่วโมง • ไม่ให้กลูโคส นมผสม หรือของเหลวอื่นๆ โดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์

  24. 11 steps to successful breastfeeding Step 5. Show mothers how to breastfeed and how to maintain lactation, even if they should be separated from their infants. แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และ ถ้าแม่ลูกถูกแยกต้องmaintain lactation (ท่า/การดูด/การบีบเก็บน้ำนม)

  25. เริ่มต้นให้ถูกต้อง หลัก 4 ด. • ดูดเร็วตั้งแต่ 1 ชม แรกในห้องคลอด • ดูดถูกวิธี • ดูดบ่อย • ดูดให้เกลี้ยงเต้า

  26. How to maintain lactation(Supply and demand) • Milk removal stimulates milk production. • The amount of breast milk removed at eachfeed determines the rate of milk production in the next few hours. • Milk removal must be continued during separation to maintain supply.

  27. 0 9 9 32 12 49 5 33 2 17 Breastfeeding frequency during the first 24 hours after birth and incidence of hyperbilirubinaemia (jaundice) on day 6 From: Yamauchi Y, Yamanouchi I. Breast-feeding frequency during the first 24 hours after birth in full-term neonates.Pediatrics, 1990, 86(2):171-175. Slide 4.8.4

  28. Mean feeding frequency during the first 3 days of life and serum bilirubin From: DeCarvalho et al. Am J Dis Child, 1982; 136:737-738. Slide 4.8.5

  29. Good attachment ปากลูกอ้ากว้าง คางลูกชิดเต้านมแม่ ริมฝีปากลูกด้านล่างปลิ้นออก แก้มป่อง แม่ไม่เจ็บหัวนมขณะดูดนม

  30. Reflex in the baby Rooting reflexWhen something touches lips, baby opens mouth puts tongue down and forward Skill Mother learns to position, baby Baby learns to take breast Sucking reflexWhen something touches palate, baby sucks Swallowing reflexWhen mouth fills with milk, baby swallows

  31. Sucking reflex

  32. Prolactin Sensory impulses from nipple Secreted AFTER feed to produce NEXT feed Prolactin in blood Baby suckling • More prolactin secreted at night • Suppresses Ovulation

  33. Oxytocin Reflex Sensory impulses from nipple Oxytocin in blood Baby suckling Works BEFORE or DURING feed to make milk FLOW • Makes uterus contract

  34. Oxytocin( Let down) Reflex Worry Stress Pain Doubt Thinks lovingly of baby Sound of baby Sight of baby CONFIDENCE These HINDER reflex These HELP reflex

  35. ข้อควรจำ 3 อย่างของ Prolactin • Pralactin สร้างในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวัน ดังนั้นการให้ลูกดูดนมกลางคืน สำคัญในการทำให้มีนมแม่คงสร้างอยู่ตลอด • Pralactin ทำให้แม่รู้สึกผ่อนคลาย บางครั้งง่วงนอน ดังนั้นแม่จึงมักได้พัก ถึงแม้จะให้ลูกดูดนมเวลากลางคืน • ช่วยป้องกันการตกไข่ ทำให้มีระยะห่างขึ้นของการตั้งครรภ์

  36. ข้อควรจำ 2 อย่างของ oxytocin reflex 1. การหลั่งของ oxytocin แม่ต้องอยู่กับลูกตลอดเวลา ได้เห็น ได้สัมผัส ตอบสนองลูกทุกครั้งที่ลูกหิว 2.ประเด็นด้านความรู้สึกของแม่ เจ้าหน้าที่ต้องให้กำลังใจ ให้ความมั่นใจแก่แม่

  37. ลูกดูดนมแม่ได้อย่างไรลูกดูดนมแม่ได้อย่างไร • Suckling – special action of a baby at the breast • Sucking - is what a baby may do with his thumb,or any other solid object in his mouth

  38. Suckling Actions • ทารกงับ( อม คาบ ) บริเวณหัวนม/ลานนมเข้าในปาก(Latch on หรือ Attachment at the breast )และทำให้ยาวยืดขึ้นได้ 2-3 เท่า ส่วนหัวนมเท่ากับหนึ่งในสาม • ทารกใช้ลิ้นกดบริเวณลานนมที่ถูกทำให้ยืด แนบกับเพดานปาก ลิ้นของทารกจะมีการเคลื่อนไหวเป็นคลื่นไล่จากปลายลิ้นถึงโคนลิ้น กดบริเวณลานนม ซึ่งมี กระเปาะน้ำนมอยู่ข้างใต้ กดดันแนบกับเพดานแข็ง ไล่ให้น้ำนมออกจากกระเปาะน้ำนม เข้าสู่รูเปิดที่หัวนม เข้าสู่ปากทารก ทำให้ทารกกลืนน้ำนมลงไป • ในขณะทารกดูดนม จะสังเกตเห็นปลายลิ้นยื่นไปข้างหน้า เหนือริมฝีปากล่าง ใต้กระเปาะน้ำนม โดยที่ลิ้นจะห่อ ( cupping)ส่วน teat ในปากลูกที่งับเข้าไป

  39. Latch,attach

  40. ถ้า position ดี หัวนมจะไม่เลื่อนหลุดเข้าออกปาก • ปลายลิ้นไม่ได้เคลื่อนไปตามหัวนม • Positive pressure ของ ลิ้นที่กดบน teat ร่วมกับแรงดันในท่อน้ำนม จากการมีการ ejection ของน้ำนม จะ evacuate น้ำนม ไม่ใช่จาก suction • แรงดันลบที่เกิดในช่องปาก จะทำให้บริเวณหัวนม/ลานนมอยู่ในปาก ลดการทำงานในการ refill ท่อน้ำนม กระเปาะน้ำนม

  41. Good attachment

  42. Poor attachment

  43. ATTACHMENT(LATCH)การอม(งับ คาบ)ลานนม • More aerola above the baby’s mouth ลานนมบนเห็นมากกว่าส่วนล่าง • mouth wide open ปากอ้ากว้าง • lower lip turned back ริมฝีปากล่างปลิ้นออก • chin(almost)touching the breast คางชิดหรือเกือบชิดเต้านม • EFFECTIVE SUCKLING การดูดที่ถูกวิธี • Slow deep suck,sometimes pausing ดูดลึก ช้า มีหยุดเป็นบางครั้ง • POSITION OF THE BABY ท่าอุ้มที่ถูกต้อง • Head and body in straight line หัว คอและลำตัวอยู่ในแนวเดียวกัน • Babyfacing breast-nose to nipple เด็กหันเข้าหาเต้านม จมูกชี้ไปทางหัวนม • Baby’s body close to mother ลำตัวเด็กแนบชิดกับตัวแม่ • Whole body supported ตัวเด็กได้รับการประคองทั้งตัว

  44. Breastfeeding Positions 7/1 Straight Facing Close Supported Breastfeeding Counselling: a training course, WHO/CHD/93.4, UNICEF/NUT/93.2 แม่ต้องเรียนรู้ ในท่าการอุ้มที่จะช่วยให้ลูกดูดนมได้ถนัด ถูกต้อง

  45. Positioning a preterminfant 12/3 UNICEF/HQ93-0287/ Roger Lemoyne, China

  46. Cradle Hold ท่าถนัดของแม่ส่วนใหญ่

More Related