1 / 16

FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต

FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต. ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Area – FTA). ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Area – FTA) ประกอบด้วย การเจรจาตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ สองประเทศขึ้นไป ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อย

sachi
Download Presentation

FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต

  2. ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Area – FTA) • ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Area – FTA) ประกอบด้วย • การเจรจาตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อย ที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการ และการลงทุน

  3. แนวคิดและทฤษฎีการค้าเสรีแนวคิดและทฤษฎีการค้าเสรี • นโยบายการค้าเสรี (Free Trade Policy) มีรากฐานมาจาก The Theory of Comparative Advantageที่เสนอว่าแต่ละประเทศควรจะเลือกผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบมากที่สุด แล้วนำสินค้าที่ผลิตได้นั้นไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศอื่นมีต้นทุนการผลิตได้เปรียบ

  4. นโยบายการค้าเสรี • ดำเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงานกันทำ • ไม่มีการเก็บภาษีคุ้มกัน (Protective Duty) • ไม่ให้สิทธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง มีการเก็บภาษีในอัตราเดียวและให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของ ทุกประเทศเท่ากัน • ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า (Trade Restriction)

  5. หลักในการจัดทำเขตการค้าเสรีของประเทศไทยหลักในการจัดทำเขตการค้าเสรีของประเทศไทย • การให้สิทธิประโยชน์ระหว่างคู่ภาคีส่งผลกระทบต่อประเทศนอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้เสริมสร้างความเข้มแข็งทาง การค้า

  6. ผลของการจัดทำ FTA • ผู้ผลิต นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก ต้นทุนการผลิตลดลง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ผู้ส่งออก ภาษีลดลง เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและส่งออก • ผู้นำเข้า นำเข้าวัตถุดิบราคาถูก และสามารถนำเข้าจากหลายแหล่ง • ผู้บริโภค ซื้อสินค้าราคาถูกลง และสินค้ามีความหลากหลาย • ผลกระทบ ภาคผลิตบางสาขาอาจได้รับผลกระทบบ้าง เช่น ผู้ผลิตที่มีประสิทธิภาพการผลิต/แข่งขันต่ำ ต้องปรับปรุงศักยภาพมาตรฐานการผลิต หรืออาจต้องปรับเปลี่ยนไปสู่สาขาที่มีความพร้อม/ได้เปรียบ

  7. ยุทธศาสตร์ FTA ในอนาคต • สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของสินค้าไทย (กลุ่มประเทศตลาดเก่า) • เจาะตลาดเพื่อสร้างโอกาสในการส่งออกสินค้าไทย (กลุ่มประเทศตลาดใหม่) • สร้างโอกาสให้ไทยเข้าสู่ตลาดที่เป็นเป้าหมายสำคัญ (ประเทศที่เป็น Gateway) • เปิดเสรีสาขาบริการที่ไทยมีจุดอ่อน เพื่อนำเข้าองค์ความรู้

  8. Free Trade Agreements • FTAs ที่มีผลบังคับใช้แล้ว รวม 6 ฉบับ • ASEAN (AFTA) • Thai – Australia (TAFTA) • Thai – New Zealand (TZNCEP) • Thai – Japan (JTEPA) • ASEAN – China (ACFTA) • Thai - India

  9. Free Trade Agreements • FTA ที่มีความตกลงสรุปได้แล้วแต่ยังไม่มีผลบังคับใช้รวม 3 ฉบับ • ASEAN – Korea (AKFTA) • ASEAN – Japan (AJCEP) • ASEAN – Australia – New Zealand (AANZETA)

  10. สินค้าสรรพสามิตที่ได้รับผลกระทบจาก FTA • ยาสูบ • รถยนต์ • สุรา • เบียร์

  11. ASEAN (AFTA) • ลดอากรให้เหลือร้อยละ 0 สำหรับประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ (Brunei, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore and Thailand)ภายในปี ค.ศ. 2010 • ลดอากรให้เหลือร้อยละ 0 สำหรับประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ (Vietnam, Laos, Myanmar and Cambodia) ภายในปี ค.ศ. 2015

  12. FTA : ภาษีสรรพสามิต • ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2553 ผู้นำเข้าเสียภาษีจาก ราคา C.I.F ของสินค้า + อากรขาเข้า + ภาษีสรรพสามิต + ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ • หลังวันที่ 1 มกราคม 2553 ผู้นำเข้าเสียภาษีจาก ราคา C.I.F ของสินค้า + ภาษีสรรพสามิต + ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ผลลัพธ์ รัฐจะเก็บภาษีสรรพสามิตจากฐานราคา C.I.F โดยไม่มีการคิด อากรขาเข้า ซึ่งจะทำให้เก็บภาษีสรรพสามิตจากสินค้านำเข้าน้อยลง

  13. ผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิตผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิต AFTA อากรนำเข้าจากสินค้าสรรพสามิต จะลดลงเป็น 0% ภายในปี ค.ศ. 2010 TAFTA and TNZCEP อากรนำเข้าจากสินค้าสรรพสามิต จดลดลงเป็น 0% ภายในปี ค.ศ. 2010 ยกเว้นไวน์ และสปาร์กกลิ้งไวน์ จะลดลงเป็น 0% ภายในปี ค.ศ. 2013

  14. ผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิตผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิต JTEPa (Thai – Japan) effects : - รถยนต์ เกินกว่า 3,000 C.Cจะลดอากรจาก 80% เป็น 60% ภายใน ปี ค.ศ. 2010 ในขณะที่รถยนต์ไม่เกิน 3,000 C.C ยังคงเสียอากรที่ 80% (อยู่ระหว่างการเจรจา) - เบียร์ ไซเดอร์ และวิสกี้จะลดลงเป็น 0% ในปี ค.ศ. 2012 - สุราอากรนำเข้าจะลดลงเป็น 0% ในปี ค.ศ. 2017

  15. ผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิตผลของข้อตกลงที่มีต่อภาษีสรรพสามิต ACFTA (ASEAN – China) - ยาสูบ เบียร์ และสุรา : อากรจะลดลงเป็น 0%ในปี ค.ศ. 2010 - รถยนต์ : สินค้าอ่อนไหว (Sensitive Tracks)ที่มีอัตราฐานต่ำกว่า 50% จะคงที่อัตรานั้น สำหรับสินค้าอ่อนไหวที่มีอัตราฐานสูงกว่า 50% จะลดลงเหลือร้อยละ 50 ในปี ค.ศ. 2015

  16. การปรับกระบวนทัศน์

More Related