1 / 30

ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์

ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์. ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubbers) Thermoplastic Elastomer (TPE) Rubber : T g และ T m < 25 o C. ยางกับ Elastomer. ยางเป็นพอลิเมอร์ที่มีความยืดหยุ่น ดังนั้นโมเลกุลจะต้อง น้ำหนักโมเลกุลต้องสูง

sabine
Download Presentation

ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ • ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) • ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubbers) • Thermoplastic Elastomer (TPE) Rubber : Tg และ Tm < 25oC

  2. ยางกับ Elastomer • ยางเป็นพอลิเมอร์ที่มีความยืดหยุ่น ดังนั้นโมเลกุลจะต้อง • น้ำหนักโมเลกุลต้องสูง • Tgต้องต่ำ เพื่อให้ส่วนของโมเลกุลมี mobility สูง • ต้องเป็นอสัณฐานในสถานะที่เสถีย ร (unstressed) • เมื่อทำการเชื่อมขวาง (crosslink) ด้วย S หรือ peroxide จะได้ elastomer ซึ่งมีความคงรูป

  3. ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) • ประมาณ 2,000 species ของต้นไม้ให้น้ำยาง (latex) • พันธุ์ที่สำคัญที่สุด Hevea brasiliensis • ข้อเสียของยางดิบ (ยางที่ไม่ผ่านกระบวนการใด ๆ) => เยื้อมและเหนียวที่อุณหภูมิสูง แก้ไขโดยการวัลคาไนซ์ (Vulcanization) โดยใช้ sulfur หรือ peroxideเพื่อให้เกิด covalent bond ระหว่างโซ่พอลิเมอร์ • โมโนเมอร์ คือIsoprene (C5H8)

  4. โครงสร้างของยางธรรมชาติ (NR) 1 2 3 4 CH2=C–CH=CH2 CH2 CH2 CH3 C = C CH3 H Tg = -70 oC C5H8 cis-1,4-polyisoprene ~ 99% เป็น cis สังเคราะห์ (เชิงอุตสาหกรรม) ได้ โดยใช้ stereospecific catalyst ได้ cisประมาณ 97-98 % (Synthetic cis-1,4-polyisoprene)

  5. การวัลคาไนซ์ยาง (Vulcanization) โดยการใช้ sulfurหรือ peroxideเพื่อให้เกิด covalent bond ระหว่างโซ่พอลิเมอร์ เพื่อให้เกิดโครงสร้าง แบบ Network

  6. ทำไมต้องมีการสังเคราะห์ยาง ? • ต้องการใช้ยางในช่วงที่ยางธรรมชาติขาดแคลน (สมัยสงครามโลก) • ต้องการยางที่มีความสามารถในการทนต่อ solvent, oil และ fuel[ยางธรรมชาติจะบวม (swell) เมื่อถูกนำไปแช่ในน้ำมันเบนซิน] มีทั้งที่เป็น homopolymer และ copolymer (หลายเกรด เพราะสามารถกำหนดปริมาณ monomers A และ B ได้)

  7. ชนิดของ Synthetic Rubbers • (Synthetic) Polyisoprene • Polybutadiene หรือ Butadiene Rubber (BR) • Styrene-Butadiene Rubber (SBR) • Nitrile-Butadiene Rubber (NBR) หรือ Nitrile Rubber • Polychloroprene หรือ Chloroprene Rubber (CR) • Butyl Rubber • Thermoplastic Elastomers (TPE)

  8. 1. Polyisoprene • เป็นการเลียนแบบยางธรรมชาติ โดยการสังเคราะห์ cis-1,4-Polyisoprene โดยใช้ stereospecific catalyst • Coordination catalyst of trialkyl Aluminum + TiCl4 (Al-Ti) • Coordination catalyst of alane (Al-hydride derivative) + TiCl4 • Lithium alkyl (Li+R-) • Isoprene monomer (C5H8) มีพันธะคู่ 2 อัน จึงเกิดปฏิกิริยาการเติม (addition) ได้ 4 แบบคือ cis-1,4 trans-1,4 vinyl 1,2 และ vinyl 3,4 แต่ที่ต้องการคือcis-1,4

  9. NR vs. Synthetic Polyisoprene • NR มีโครงสร้างที่เป็น cis เกือบ 100 % จึงเกิดการเรียงตัว และเป็นผลึกได้ (crystallize) เร็ว เมื่อถูกยืด เรียกว่า “Strain-Induced Crystallization” (SIC) (Strain หรือ ความเครียด = ความยาวที่เพิ่ม / ความยาวเดิม) • ยาง Synthetic Polyisoprene ก็เกิด SIC ได้ แต่จะช้ากว่าและปริมาณผลึกก็น้อยกว่า เพราะ % ของ cisที่น้อยกว่า

  10. 2. Polybutadiene (Butadiene Rubber, BR) • เป็น homopolymer ของ Butadiene (C4H6) CH2 = CH - CH = CH2 ---> -CH2- CH = CH- CH2- • มี Tgต่ำที่สุดในยางทั้งหมด (-100 oC) ข้อดี 1. ความต้านทานต่อการสึกหรอสูง (good abrasion resistance) 2. สามารถใช้งานได้ในที่อุณหภูมิต่ำ เนื่องจาก Tgต่ำ (good freeze resistance) ข้อเสีย ไม่ค่อยเกาะถนนเวลาฝนตก 1,4-addition

  11. โครงสร้างของ BR cis-1,4- trans-1,4 และ vinyl หรือ 1,2-addition ขึ้นกับ catalyst

  12. Alkali Metal • R2AlCl-Co + benzene ให้ > 99% cis

  13. 3. Styrene Butadiene Rubber (SBR) • เป็นยางสังเคราะห์ที่มีการนำไปใช้งานมากที่สุด • เป็น copolymer ของ styrene CH2=CH(C6H5) และ butadiene CH2 = CH - CH = CH2 • Polystyrene มี Tg = 100oC (plastic) • Polybutadiene มี Tg = -100oC (rubber) • เนื่องจากเป็น Copolymer โอกาสที่โมเลกุลจะจัดเรียงตัวกันเพื่อเกิดเป็นผลึกจึงต่ำมาก ๆ

  14. Controllable SBR • Tg ของ SBR สามารถปรับได้ โดยการปรับอัตราส่วน Styrene และ butadiene • Tg ของ SBR มีค่าระหว่างค่า Tgทั้งสอง (-100oC สำหรับ BR และ 100oC สำหรับ PS) ซึ่ง Tg เพิ่มประมาณ 2oC ต่อ 1 % ของ styrene) เช่น SBR ที่มี 23.5 wt % S มี Tg = -55oC ซึ่งใกล้เคียงกับ (-100 + 2*23.5) • % butadiene เพิ่ม => Tgลด => ใช้งานที่อุณหภูมิต่ำได้ => สึกหรอช้า (แต่เกาะถนนไม่ดี)

  15. 4. Nitrile-Butadiene Rubber (NBR) หรือ Nitrile Rubber • เป็น copolymer ของ Acrylonitrileและ Butadiene CH2 = CH + CH2 = CH - CH = CH2 CH2-CH-CH2-CH=CH-CH2 • โดยทั่วไปใช้ CN 15-50% CN CN

  16. NBR (ต่อ) • การเพิ่ม % ของ CN (ความมีขั้วสูง) เป็นการเพิ่ม • oil resistance (ความคงทนต่อน้ำมัน) • fuel resistance (ความคงทนต่อน้ำมันเชื้อเพลิง) • tensile strength (ความแข็งแรงต่อการดึง) • abrasion resistance (ความคงทนต่อการเสียดสี) • gas impermeability (การไม่ยอมให้แก๊สผ่าน) • heat resistance (ความคงทนต่อความร้อน)

  17. 5. Polychloroprene (Chloroprene Rubber, Neoprene) • เป็น homopolymer ของ 2-chloro-1,3-butadiene CH2 = C-CH = CH2 • คล้ายกับ isoprene โดยแทนที่ methyl group ด้วย Cl atom (หรือ butadiene โดยแทนที่ H atom ด้วย Cl atom) • มีความเป็นขั้วจาก Cl => เพิ่ม oil resistance • ใช้เป็น adhesive, coating และ sealant Cl

  18. 6. Isobutylene-Isoprene Rubber (IIR) หรือ Butyl Rubber • เป็น copolymer ของ 97-99% isobutylene และ 1-3 % isoprene C = CH2 + CH2=C-CH=CH2 -C-CH2-CH2-C=CH-CH2- CH3 • เหลือ double bond 1 อันใน isoprene เพื่อให้เกิด crosslinking • ปริมาณ isoprene ที่ต่ำ ทำให้ Butyl Rubber ประกอบด้วย block ของ isobutylene CH3 CH3 CH3 CH3 CH3

  19. IIR (ต่อ) • สมบัติที่สำคัญมากของ IIR หรือ Butyl Rubber คือ • low rate of gas permeability (10% ของ NR) • thermal stability • chemical and moisture resistance • ใช้ในยางในรถยนต์เพราะสามารถรักษาความดันของลม

  20. Tires (ยางรถยนต์) แต่ละส่วนของยางรถยนต์มีหน้าที่ต่างกัน => ต้องการยางต่างชนิดกัน • หน้ายาง (ดอกยาง) - เกาะถนน ระบายความร้อน ทนต่อการสึกหรอ • Sidewall - ทนต่อแรงกระแทกด้านข้าง • Liner - เก็บความดันลม ใช้ Butyl Rubber หรือ Chlorobutyl Rubber

  21. รองเท้ากีฬา (sports shoes) • พื้นของรองเท้ากีฬาเป็นยางสังเคราะห์ผสม • ชนิดของยางสังเคราะห์ที่ใช้ขึ้นกับวัตถุประสงค์ในการใช้งาน -- รองเท้าวิ่ง: รับแรงกระแทก มีการสปริงตัวที่ดีและทนต่อการสึกหรอบนพื้นหยาบ -- รองเท้าบาสเก็ตบอล: ยึดเกาะพื้นเรียบได้ดี มีการสปริงตัวที่ดีมาก

  22. 7. Thermoplastic Elastomer (TPE) • Elastomer คือ Rubber ที่ถูก vulcanized หรือ crosslinked • Polymer ที่ถูก crosslinked เป็น thermoset • Thermoplastic Elastomer คือ Elastomer ที่ใช้ physical crosslink แทนที่จะเป็น chemical crosslink • โดยที่ physical crosslink เหล่านี้ สามารถเปลี่ยนสภาพได้โดยการให้ความร้อน ==> เป็น Thermoplastic

  23. โครงสร้างของ TPE • TPE ประกอบด้วย 2 ส่วน 1. ส่วนที่เป็นโซ่ยาว เหมือนยางทั่วไป ซึ่งเป็นส่วนที่ยืดหดได้ ==> Elastic 2. ส่วนที่เป็น physical crosslink ซึ่งทำหน้าที่เหมือน chemical crosslink ทำให้โมเลกุลไม่เลื่อนจากกัน และกลับสู่สภาพเดิมเมื่อปล่อยแรง

  24. ตัวอย่าง TPE • โดยทั่วไป TPE เป็น triblock copolymer แบบ A-B-A เช่น SBS (Styrene-Butadiene-Styrene) โดย • Polystyrene เป็น hard domain (ส่วนที่แข็ง)หรือ physical crosslink เพราะเป็น plastic ที่ 25 oC (มี Tg = 100 oC) • Polybutadiene เป็น flexible chain (Tg = -100 oC)

  25. Phase Separation of SBS PS = Physical crosslink (แข็ง) PB = Rubbery phase (นิ่ม)

  26. Modulus ของ TPE • Tgของ rubbery phase < T ใช้งาน < Tgหรือ Tmของ hard phase • ขึ้นรูปเมื่อ T > Tgหรือ Tmของ hard phase

  27. สรุป (1) • Vulcanization เป็นการใช้ S หรือ peroxide เพื่อให้เกิดการ crosslink ระหว่างโซ่โมเลกุลของยาง • NR เป็น 99% cis-1,4-Polyisoprene การที่เป็น 99%cis จึงเกิดเป็นผลึกได้ง่ายในภาวะที่ถูกดึง มี Tg = -70oC • Synthetic Polyisoprene ซึ่งมาจากสังเคราะห์และมี cis เพียง 97-98 % จึงเกิดผลึกได้ไม่ดีเท่า NR • BR เกิดจาก Butadiene monomer (C4H6) มี Tg = -100oC ซึ่งจะทน ต่อการสึกหรอได้ดีมาก (แต่จะเกาะถนนไม่ดี)

  28. สรุป (2) • SBR เป็น copolymer ของ Styrene และ Butadiene โดยที่ Tg ถูกกำหนดโดย % ของ monomer ทั้งสอง • SBR ที่มี Butadiene สูงจะมี Tg ต่ำ หรือ สมบัติคล้ายยาง BR คือสึกหรอช้า แต่เกาะถนนไม่ดี • NBR เป็น copolymer ของ Acrylonitrile และ Butadiene โดยที่หมู่ CN ซึ่งเป็นสารมีขั้ว (polar) จะเพิ่มสมบัติการทนต่อ solvent • CR เป็น homopolymer ของ 2-Chloro-1,3-Butadiene (คล้ายกับ Isoprene โดยแทนที่ CH3ด้วย Cl )

  29. สรุป (3) • Butyl Rubber เป็น copolymer ของ 97-99 % Isobutylene + 1-3% Isoprene ใช้ในยาง Radial หรือ เป็นยางในรถยนต์เพราะสามารถเก็บรักษาความดันได้ดี • TPE เป็น elastomer ที่เป็น thermoplastic โดยมีส่วนที่แข็งทำหน้าที่เป็น (Physical) Crosslink เพราะโดยทั่วไป elastomer เป็น thermoset

More Related