1 / 27

ไฟป่า

ไฟป่า. หมอกควัน. สภาพที่ตั้งของ กลุ่มประเทศอาเซียน. สถานการณ์ หมอกควันข้ามแดน. ทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียน. ปัญหาหมอกควันข้ามแดน. สาเหตุ : เกิดจากไฟป่า. ผลกระทบจากหมอกควัน. ด้านสุขภาพ ทำให้ระคายเคือง แสบตา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และสุขภาพจิต. ผลกระทบจากหมอกควัน. ด้านการคมนาคม

saad
Download Presentation

ไฟป่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟป่า

  2. หมอกควัน

  3. สภาพที่ตั้งของกลุ่มประเทศอาเซียนสภาพที่ตั้งของกลุ่มประเทศอาเซียน

  4. สถานการณ์หมอกควันข้ามแดนสถานการณ์หมอกควันข้ามแดน

  5. ทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียนทิศทางลมของกลุ่มประเทศอาเซียน

  6. ปัญหาหมอกควันข้ามแดน สาเหตุ : เกิดจากไฟป่า

  7. ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านสุขภาพ ทำให้ระคายเคือง แสบตา กระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และสุขภาพจิต

  8. ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านการคมนาคม ทำให้ทัศนวิสัยในการคมนาคมไม่ดี

  9. ผลกระทบจากหมอกควัน ด้านการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยวลดลง

  10. ความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียนความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียน ตื่นตัว ตั้งแต่ปี 2523 • ตั้งทีม “Haze Technical Task Force (HTTF)” ในปี 2538 • ทีม HTTF จัดทำแผนปฏิบัติร่วมกัน “Regional Haze Action Plan (RHAP)” • ประกอบด้วย 1) แผนป้องกัน (Prevention)2) แผนเฝ้าระวัง (Monitoring) • 3) แผนสู้และบรรเทาภัย (Capability and Mitigation) • ** RHAP เป็นข้อปฏิบัติอย่างหลวมๆ ไม่มีผลบังคับทางกฎหมาย**

  11. ยกระดับความร่วมมือ ข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน(ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution ; AATHP) **เป็นการยกระดับความร่วมมือให้สูงขึ้น (ปี 2543) ยกเลิก RHAP** ***ข้อตกลงฉบับนี้ถือเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศฉบับแรกในโลกที่ผูกมัดประเทศสมาชิกให้ช่วยกันจัดการปัญหาหมอกควันร่วมกันโดยทั้งดำเนินการด้วยตนเองและร่วมกับประเทศภาคีอื่น ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามแล้วในปี 2545 และได้ให้สัตยาบันแล้ว 9 ประเทศ ยกเว้นประเทศอินโดนีเซีย

  12. การประชุมConference of the Parties (COP)คือ ประเทศภาคี 10 ประเทศอาเซียน แบ่งเป็นอนุภาคย่อย 1. การประชุมคณะทำงานด้านไฟป่าและหมอกควันสำหรับอนุภูมิภาคแม่โขง 5 ประเทศ ลาว เมียนม่าร์ เวียดนาม กัมพูชา และไทย 2. การประชุมรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อม และคณะทำงาน 5 ประเทศ แถบเส้นศูนย์สูตร เรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย

  13. บทวิเคราะห์จากสภาที่ปรึกษาฯ กรณีความร่วมมือการแก้ปัญหาหมอกควันของกลุ่มประเทศภูมิภาอาเซียน

  14. บทพิสูจน์ความร่วมมือระหว่างประเทศบทพิสูจน์ความร่วมมือระหว่างประเทศ • ระดับการประชุมสูงสุดได้รับการพิจารณาอย่างจริงจังจากสมาชิก • ระดับนโยบายยังเป็นการแยกส่วนปฏิบัติตามอนุภูมิภาค • ระดับปฏิบัติยังคงเป็นการช่วยเหลือตนเองตามศักยภาพของประเทศนั้นๆ

  15. ข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  16. 1. ด้านการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ

  17. 2. ด้านการเผยแพร่ นำเสนอโครงการปิดทองหลังพระ เป็นน่านโมเดล

  18. 3. ด้านการสนับสนุนให้ใช้สถาบันวิชาการเป็นผู้ประสานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชน

  19. 4. ด้านการสนับสนุนเทคโนโลยี4. ด้านการสนับสนุนเทคโนโลยี

  20. ขอขอบคุณ

More Related