1 / 15

หลักการเงิน (00920208)

หลักการเงิน (00920208). บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3). สรุปสูตรการคำนวณ FV, PV, FVA, PVA. FV n = PV(1+i) n = (FVIF i,n ) PV = FV n /(1+i) n = (PVIF i,n ) FVA n = CFA(FVIFA i,n ) ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกสิ้นงวด

roscoe
Download Presentation

หลักการเงิน (00920208)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการเงิน (00920208) บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)

  2. สรุปสูตรการคำนวณ FV, PV, FVA, PVA FVn= PV(1+i)n = (FVIFi,n) PV = FVn/(1+i)n = (PVIFi,n) FVAn = CFA(FVIFAi,n)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกสิ้นงวด FVAn = CFA(FVIFAi,n)(1+i)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกต้นงวด PVA = CFA(PVIFAi,n)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกสิ้นงวด PVA = CFA(PVIFAi,n)(1+i)ในกรณีที่ CFA เกิดขึ้นทุกต้นงวด PVA = CFA/i

  3. การคำนวณค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวดการคำนวณค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวด PV = [CF1/[(1+i)1] + [CF2/(1+i)2] + … + [CFn/(1+i)n] ตัวอย่าง นาย ก. ชวนท่านมาลงทุนโดยมีข้อเสนอเกี่ยวกับจำนวนเงินที่จะได้รับตอบแทนในแต่ละงวดดังนี้ งวดที่ (n) เงินสดรับ(CFn) 1 100 2 200 3 300 4 0 5 900 ถ้าขณะนี้ท่านมีโอกาสลงทุนที่ให้ผลตอบแทน 8% ต่อปี ตลอดระยะเวลา 5 ปีข้างหน้าท่านควรจะจ่ายเงินลงทุนกับนาย ก. ขณะนี้เท่าใด

  4. การคำนวณค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวดการคำนวณค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวด PV = [CF1/[(1+i)1] + [CF2/(1+i)2] + … + [CFn/(1+i)n] งวดที่ (n) เงินสดรับ(CFn)PV 1 100 100/(1+.08)1 = 92.59 2 200 200/(1+.08)2 = 171.46 3 300 300/(1+.08)3 = 238.14 4 0 0/(1+.08)4 = 0 5 900 900/(1+.08)5 = 612.54 1,114.73

  5. การคำนวณมูลค่าทบต้นของกระแสเงินสดที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวดการคำนวณมูลค่าทบต้นของกระแสเงินสดที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวด FV = [CF1(1+i)n-1] + [CF2(1+i)n-2] + … + [CFt(1+i)n-t] ตัวอย่าง นาย ก. วางแผนที่จะนำเงินไปฝากธนาคารทุกสิ้นปี ดังต่อไปนี้ สิ้นปีที่ (n) เงินฝาก(CFn) 1 100 2 200 3 300 4 0 5 900 ถ้าหากธนาคารให้ดอกเบี้ย 8% ต่อปี ณปลายปีที่ 5 นายก. จะมีเงินฝากธนาคารจำนวนเท่าใด

  6. การคำนวณมูลค่าทบต้นของกระแสเงินสดที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวดการคำนวณมูลค่าทบต้นของกระแสเงินสดที่มีจำนวนแตกต่างกันในแต่ละงวด FV = [CF1(1+i)n-1] + [CF2(1+i)n-2] + … + [CFt(1+i)n-t] งวดที่ (n) เงินฝาก(CFn)FV 1 100 100(1+.08)4 = 136.05 2 200 200(1+.08)3 = 251.94 3 300 300(1+.08)2 = 349.92 4 0 0(1+.08)1= 0 5 900 900(1+.08)0 = 900.00 1,637.91

  7. การคำนวณอัตราดอกเบี้ยการคำนวณอัตราดอกเบี้ย • การคำนวณดอกเบี้ยเป็นอัตราร้อยละต่อปี(APR – Annual Percentage Rate) • การคำนวณดอกเบี้ยเป็นอัตราที่แท้จริงต่อปี (EAR – Effective Annual Interest Rate)

  8. อัตราดอกเบี้ยร้อยละต่อปี (APR) APR = i x m i - อัตราดอกเบี้ยต่องวด m - จำนวนครั้งที่คิดดอกเบี้ยใน 1 ปี

  9. ตัวอย่างการคำนวณ APR ตัวอย่าง นายก. ให้นายข. กู้เงิน 100,000 บาท โดยนายข. ต้องชำระเงินต้นบวก 20% ของเงินต้น และต้องชำระคืนเมื่อครบ 6 เดือน • นายก.คิดดอกเบี้ย 20% ต่อ 6 เดือน i = 0.20 • จำนวนครั้งที่คิดดอกเบี้ยต่อปี m = 2 • APR = i x m = 0.20 x 2 = 0.40 • APR = 40% ต่อปี

  10. อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงต่อปี (EAR) EAR = (1+ i/m)mn - 1 i - อัตราดอกเบี้ยต่อปี m - จำนวนครั้งที่คิดดอกเบี้ยใน 1 ปี n - จำนวนปี

  11. ตัวอย่างการคำนวณ APR ตัวอย่าง นายก. ให้นายข. กู้เงิน 100,000 บาท โดยนายข. ต้องชำระเงินต้นบวก 20% ของเงินต้น และต้องชำระคืนเมื่อครบ 6 เดือน • นายก.คิดดอกเบี้ย 20% ต่อ 6 เดือน i = 0.40 ต่อปี • จำนวนครั้งที่คิดดอกเบี้ยต่อปี m = 2 • จำนวนปี = n = 1 • EAR = (1+ i/m)mn – 1 = (1+ 0.40/2)2x1 – 1 = 0.44 • EAR = 44% ต่อปี

  12. หลักการเงิน (00920208) บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

  13. ผลตอบแทน • วัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ - เพื่อทำให้มูลค่ากิจการสูงสุด • การพิจารณาผลตอบแทน = พิจารณาจากกระแสเงินสดจากการลงทุนนั้นๆ ไม่ใช่กำไรทางบัญชี

  14. อัตราผลตอบแทน • อัตราผลตอบแทน = (เงินสดรับปลายงวด - เงินลงทุนต้นงวด + เงินสดรับระหว่างงวด) เงินลงทุนต้นงวด ตัวอย่าง ถ้านาย ก.ลงทุนซื้อหุ้นของบริษัท ABC ในราคาหุ้นละ 80 บาท ถือไว้ครบ 1 ปี ได้รับเงินปันผลหุ้นละ 2 บาท และสิ้นปีขายหุ้น ต่อได้ในราคาหุ้นละ 86 บาท อัตราผลตอบแทน = (86-80+2)/80 = 0.10 หรือ 10%

  15. ความเสี่ยง • ความเสี่ยงทางธุรกิจ (business risk) • ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) • ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย (interest rate risk) • ความเสี่ยงในอำนาจซื้อ (purchasing power risk) • ความเสี่ยงของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนต่อ (reinvestment rate risk)

More Related