1 / 36

กรอบนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของ ก.น.จ.

กรอบนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของ ก.น.จ. โดย เลขาธิการ ก.พ.ร. ที่มา.

rocio
Download Presentation

กรอบนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของ ก.น.จ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของ ก.น.จ. โดย เลขาธิการ ก.พ.ร.

  2. ที่มา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 (2)กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน เหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ • พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 • มาตรา 52 วรรคสาม • มาตรา 53/1 • มาตรา 53/2 • มาตรา 55/1

  3. มาตรา 52 วรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา ในกรณีนี้ให้ถือว่าจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

  4. มาตรา 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จำนวนและวิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว มาตรา 53/2 ให้นำความในมาตรา 53/1 มาใช้บังคับกับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วยโดยอนุโลม

  5. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 137 ก เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 5

  6. เจตนารมณ์ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 มีแนวทางการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ดังนี้ Development Model Governance Model Area-based Approach Collaboration/ Joined-Up Government • ยึดพื้นที่เป็นหลักในการพัฒนาเพื่อกระจายการพัฒนาและลดความเหลื่อมล้ำของความเจริญเติบโตระหว่างพื้นที่ต่างๆ ในประเทศ แบ่งเป็น 18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด (กลุ่มจังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรี่องการสร้าง competitiveness จังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรื่องพัฒนาสังคม รวมถึงการสร้างโอกาสและอาชีพ) • ต้องการให้แต่ละพื้นที่มี position ในการพัฒนาที่ชัดเจน และผ่านการเห็นชอบร่วมกันทุกฝ่าย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและร่วมมือร่วมใจกัน • การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น • แบ่งหน้าที่กันทำตามแต่ละยุทธศาสตร์ (มาเจรจาและทำข้อตกลงร่วมกัน) • ลดความซ้ำซ้อนของการใช้งบประมาณแผ่นดิน หรือระดมทรัพยากรเข้ามาใช้ร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม) • ประสานการลงทุนภาคเอกชน และเชื่อมโยงเข้ากับแผนชุมชน • กำหนดให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตัว linkage ฝ่ายต่างๆ เข้าด้วยกัน

  7. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551

  8. บทเฉพาะกาล • การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดในครั้งแรก ให้ ก.บ.จ. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และให้ ก.บ.ก. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด เสนอ ก.น.จ. พิจารณาห้ความเห็นชอบในคราวเดียวกัน • พรฎ.นี้ให้ใช้บังคับกับการดำเนินการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553เป็นต้นไป

  9. โครงสร้างระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการโครงสร้างระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ การวางแผน การอนุมัติ การตรวจสอบ กนจ.  พรฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดฯ - ก.บ.จ./ ก.บ.ก. - ผู้ตรวจ นร./ มท. เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล และ รายงานต่อ ก.น.จ. อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง ครม. กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผน กนจ. ก.บ.จ. (สำนักงานจังหวัด) ระเบียบ นร. ว่าด้วยการกำกับฯ - กกภ. - รนม. กำกับติดตามการปฏิบัติ ราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด/ เจ้าหน้าที่ระดับสูงในจังหวัด - ผู้ตรวจ นร. รายงานต่อ รนม. - รองนายกฯ มีอำนาจอนุมัติงบ กลาง กรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ให้แก่หน่วยงานของรัฐไม่เกินคน ละ 100 ล้านบาทต่อปี ก.บ.ก. (สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด) อนุ กนจ.ด้านแผนและงบประมาณ (5 คณะ) • จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณ • ร่างระเบียบ นร.ฯ • - คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด(ก.ธ.จ.)

  10. หนังสือเวียน ก.น.จ. 10 10

  11. กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของ ก.น.จ. 11

  12. กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 1. กรอบแนวทาง  มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกัน ทุกภาคส่วน โดยคำนึงถึงความพร้อมของทุกภาคส่วน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน  นำนโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วนตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาลเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างโอกาสและเพิ่มรายได้ และลดภาระค่าครองชีพของประชาชน รวมทั้งแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคมาใช้เป็นแนวทางการจัดทำ  รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด

  13. กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 2. ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัด แบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เป็นแผนที่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่ การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน และสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด • การจัดทำต้องอยู่บนพื้นฐานของความเห็นชอบร่วมกันของทุกภาคส่วนเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและร่วมมือร่วมใจกัน • เมื่อมีการประกาศใช้แผนฯ แล้ว การจัดทำแผนปฏบัติราชการประจำปี รวมทั้งการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐในพื้นที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • (ตามนัยมาตรา 53/1 แห่ง พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ)

  14. กรอบนโยบายในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3. แนวทางการพิจารณาเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดกลุ่มจังหวัด • คุณภาพของแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด - แสดงทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่ - ผ่านกระบวนการเห็นชอบจาก ทุกฝ่าย หาก ก.น.จ.เห็นว่าแผนฯไม่มีคุณภาพ ก.น.จ.อาจส่งแผนดังกล่าวกลับไปให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดดำเนินการแก้ไขให้สมบูรณ์มากขึ้น • ความสอดคล้องเชื่อมโยง - แผนพัฒนาหรือโครงการต้อง สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบายเร่งด่วนตาม แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ - สอดคล้องกับการตอบสนอง ต่อความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ และเหมาะสมกับศักยภาพ ของพื้นที่

  15. ศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลกศูนย์กลางการผลิตและการจำหน่ายข้าวหอมมะลิชั้นดีสู่ตลาดโลก ตัวอย่าง จังหวัดร้อยเอ็ด Value Chains การพัฒนาระบบการตลาด การแปรสภาพเพิ่มและสร้างคุณค่า การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพและลดต้นทุน ส่งเสริม การผลิต และใช้ เมล็ดพันธุ์ดี การพัฒนา คุณภาพ เพื่อ ส่งออก การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ศูนย์ กระจาย สินค้าและโลจิสติกส์ การ จัดการ พื้นที่แปลงปลูก การ จัดการ ศัตรูพืช การ ตรวจสอบ มาตรฐาน การ ปรับปรุงดิน การ จัดการ ระบบน้ำ การ แปรสภาพ การ เกี่ยวนวด โครงการส่งเสริมตลาดข้าวหอมมะลิเพื่อการส่งออก โครงการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ข้าวหอมมะลิระบบสูญญากาศ โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดีสู่ตลาดโลก โครงการปรับปรุงระบบชลประทาน กระทรวง/กรม โครงการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ โครงการส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์ โครงการพัฒนาแหล่งน้ำขนาดล็กเพื่อการเกษตร โครงการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว โครงการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการแปรรูปให้แก่ผู้ประกอบการ จังหวัด โครงการส่งเสริมอุปกรณ์เคร่องอัดฟางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตร โครงการจัดตั้งโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ โครงการก่อสร้างตลาดกลางสินค้าเกษตร ท้องถิ่น โครงการจัดตั้งลานตาก/ฉางข้าวระดับหมู่บ้าน ชุมชน 15

  16. หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด 16

  17. แผนพัฒนาจังหวัด (มาตรา 18) ความหมาย (มาตรา 3) ระยะเวลาสี่ปี • รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ • ของจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไป • ตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนา • ของจังหวัดในอนาคต โดยต้องคำนึง • ถึงความต้องการและศักยภาพของ • ประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด • รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐ • และภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ • ระดับชาติ • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชน • มีส่วนร่วมในการกำหนดความ • ต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัด • มาพิจารณาให้เกิดความผสมผสาน • ไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง องค์ประกอบ (มาตรา 18) • อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ • - วิสัยทัศน์ • - ประเด็นยุทธศาสตร์ • - เป้าประสงค์ • - ตัวชี้วัด • - ค่าเป้าหมาย และ • - กลยุทธ์

  18. แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ความหมาย (มาตรา 3) องค์ประกอบ (มาตรา 25) • เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัด • ไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึงโครงการ • ต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการ • ในจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณ • เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ • ทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ทั้งนี้ • ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดย • จังหวัด กระทรวง ทบวง กรม • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน • อย่างน้อยต้องระบุ • - รายละเอียดของโครงการ • - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน • - หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ • - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ • โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการ • หรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะขอตั้ง • งบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง

  19. ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และคำของบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด • แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด มาตรา 28 เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามที่ ก.น.จ.เสนอแล้ว ให้ ก.น.จ.ส่งให้สำนักงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดสรรงบประมาณ โดยสำนักงบประมาณต้องดำเนินการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าจังหวัดได้ยื่นคำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด 19

  20. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ความหมาย (มาตรา 3) ระยะเวลาสี่ปี (มาตรา 27) • รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ • ของกลุ่มจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้ • เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการ • พัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคต • โดยต้องคำนึงถึงความต้องการและ • ศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น • ในกลุ่มจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อม • ของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และ • ยุทธศาสตร์ระดับชาติ • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชน • มีส่วนร่วมในการกำหนดความ • ต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัด • มาพิจารณาให้เกิดความผสมผสาน • ไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง องค์ประกอบ (มาตรา 27) • อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ • - วิสัยทัศน์ • - ประเด็นยุทธศาสตร์ • - เป้าประสงค์ • - ตัวชี้วัด • - ค่าเป้าหมาย และ • - กลยุทธ์

  21. แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ความหมาย (มาตรา 3) องค์ประกอบ (มาตรา 27) • เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • ไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึงโครงการ • ต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการ • ในกลุ่มจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณ • เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ • ทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด • ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการ • โดยจังหวัด กลุ่มจังหวัด กระทรวง • ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน • อย่างน้อยต้องระบุ • - รายละเอียดของโครงการ • - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน • - หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ • - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ • โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการ • หรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะขอตั้ง • งบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง

  22. ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ กลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด มาตรา 32 ให้นำความมาตรา 28 ใช้บังคับโดยอนุโลม เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามที่ ก.น.จ.เสนอแล้ว ให้ ก.น.จ.ส่งให้สำนักงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดสรรงบประมาณ โดยสำนักงบประมาณต้องดำเนินการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่า จังหวัดได้ยื่นคำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วย วิธีการงบประมาณแล้วเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด 22

  23. ขั้นตอนและวิธีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดขั้นตอนและวิธีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก.น.จ. 1 กลุ่มจังหวัด จังหวัด ก.น.จ.กำหนดกรอบ นโยบาย ขั้นตอน วิธีการ แผนและงบประมาณของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 2 จังหวัดรวบรวมข้อมูลศักยภาพของจังหวัด และสำรวจความต้องการของประชาชนในจังหวัด ข้อมูลศักยภาพและความต้องการของจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3 ก.บ.จ. วิเคราะห์ เพื่อกำหนดศักยภาพและความต้องการของจังหวัด 4.1 ก.บ.ก. จัดทำร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด จัดส่งร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 4.2 ก.บ.จ. จัดทำร่างแผนพัฒนาจังหวัด ส่งร่างแผนกลุ่มจังหวัดให้จังหวัดต่าง ๆ ในกลุ่มจังหวัดนำไปประชุมหารือร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ในจังหวัด ร่างแผนพัฒนาจังหวัด 5 จังหวัดจัดประชุมปรึกษา หารือกับทุกภาคส่วนในจังหวัด 6.1 ก.บ.ก. ปรับปรุงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดให้สมบูรณ์ ส่งข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดซึ่งได้จากการประชุมหารือให้กลุ่มจังหวัดเพื่อนำไปปรับปรุง ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด 7 ก.น.จ. กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ความเห็นชอบ 6.2 ก.บ.จ. ปรับปรุงแผน พัฒนาจังหวัดให้สมบูรณ์ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด ครม. พิจารณาเห็นชอบแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด 8 23

  24. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2553-2556ครั้งแรก (ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 36) • ให้ ก.บ.จ. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปี และให้ ก.บ.ก. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปี เสนอ ก.น.จ. พิจารณาเห็นชอบในคราวเดียวกัน แผนพัฒนาจังหวัด  ก.บ.จ. (จัดทำ) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด ก.น.จ. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด  ก.บ.ก. (จัดทำ) แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของกลุ่มจังหวัด

  25. แผนดำเนินการ การวางแผน การอนุมัติ กนจ. ครม. (2 ก.พ. 52) (10 มี.ค. 52) กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำแผน กนจ. (6 มี.ค. 52) ก.บ.จ. (สำนักงานจังหวัด) ก.บ.ก. (สำนักบริหาร ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด) อนุ กนจ. ด้านแผนและ ด้านงบประมาณ (5 คณะ) • จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด • แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณ (23 ก.พ. – 5 มี.ค. 52) (ภายใน 2o ก.พ. 52)

  26. คณะอนุกรรมการด้านแผนและด้านงบประมาณ โดยมีผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ ทั้ง 5 คณะ 26 26

  27. แผนดำเนินการ • 20 ก.พ. 52 จังหวัด/กลุ่มจังหวัดส่งแผนพัฒนา / • แผนปฎิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ • กลุ่มจังหวัด • -ให้ ก.น.จ. พิจารณา • - ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อ ประกอบการจัดทำคำของบประมาณ ของส่วนราชการนั้น • 23 ก.พ. – 5 มี.ค. 52 อนุกรรมการ ก.นจ. กลั่นกรองแผนพัฒนา • จังหวัด/แผนปฏิบัติราชการฯ • 6 มี.ค. 52 ก.น.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ • 10 มี.ค. 52 ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบ • 17 มี.ค. 52 ก.น.จ. นำแผนปฏิบัติราชการจังหวัด/ • กลุ่มจังหวัดส่งให้ สงป. 27

  28. ปฏิทินการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553  (2) (20 วัน)  (20) (23 ก.พ. -5 มี.ค.)  (6)  (10)  (17) 28 28

  29. ปฏิทินการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553  (6) (6-7)  (19)  (2)  (17-18)  (26-27)  (11,14)  (17) 29 29

  30. วิธีการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนวิธีการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ในท้องถิ่นในจังหวัด 30

  31. ความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัดความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด วิธีการสำรวจ • มอบให้ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ สถาบันการศึกษา • หรือบุคคลอื่นใดทำการศึกษาสำรวจความคิดเห็นของประชาชน • ในท้องถิ่นในจังหวัด • (2) มอบให้ฝ่ายเลขานุการ ก.บ.จ. ดำเนินการหรือร่วมกับหน่วยงานอื่น • ทำการศึกษาสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด • (3) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการของ ก.บ.จ. ขึ้นคณะหนึ่ง ทำหน้าที่ • ประสานงานเพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น • ในจังหวัด หรือ • (4) อาจดำเนินการอื่นตามที่ ก.บ.จ. เห็นสมควร จัดทำเป็นประกาศ ก.น.จ. ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2552 31

  32. แนวทางการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการของ ก.บ.จ. ให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการระดับอำเภอ (อ.ก.อ.) อำนาจหน้าที่ องค์ประกอบ 1.ประสานงานกับองค์กรอื่นๆ ทุกภาคส่วน ในพื้นที่ของอำเภอ เพื่อให้ได้มาซึ่ง ความต้องการ ศักยภาพ และความ คิดเห็นของประชาชน 2. ร่วมมือกับองค์กรปกครองท้องถิ่นในพื้นที่ จัดให้มีการสำรวจและประมวลความต้องการ ของประชาชนโดยใช้ข้อมูลจากแผนชุมชน หรือกระบวนการประชาคมของแต่ละชุมชน 3. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลตาม (1) และ (2) และจัดทำข้อเสนอความต้องการ และ ศักยภาพของประชาชน รวมทั้งโครงการ หรือแนวทางแก้ปัญหาส่ง ก.บ.จ. 4. หน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจาก ประธาน ก.บ.จ. ประธาน:นายอำเภอ กรรมการ • ปลัดอำเภอและหัวหน้าส่วนราชการ • ประจำอำเภอ ที่นายอำเภอแต่งตั้ง • ตามที่เห็นสมควร • ผู้บริหาร อปท.ในอำเภอ ที่นายอำเภอ • แต่งตั้งตามที่เห็นสมควร • ผู้แทนภาคประชาสังคมตามที่นายอำเภอ • แต่งตั้งตามที่เห็นสมควร กรรมการและเลขานุการ • ปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ • คนหนึ่งที่นายอำเภอแต่งตั้งตามที่เห็นสมควร

  33. 5. การจัดกลุ่มจังหวัด การกำหนดจังหวัดที่เป็น ศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด และการกำหนด หัวหน้ากลุ่มจังหวัด 33

  34. กลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัด 18กลุ่ม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551 34 34

  35. การกำหนดหัวหน้ากลุ่มจังหวัดการกำหนดหัวหน้ากลุ่มจังหวัด ภาคใต้ชายแดน (สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) • เห็นชอบให้ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการ • บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ทำหน้าที่ • หัวหน้ากลุ่มจังหวัด กลุ่มภาคใต้ชายแดน

  36. ขอขอบคุณ We invite you to come and use our professional photo lab services, and then... stay. Sip a capuccino, view our latest gallery showing or browse through our collection of photography books and magazines. Fine Art and Stock Photography Gallery – abstract impressionism, and realism in black and white, portraits, travel, landscape and digital photography. Welcome to our company. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 59 ถนนพิษณุโลก แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2356 9999www.opdc.go.th

More Related